กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โรงเรียนบ้านปาเซ (D2B TOGATHER) พิชิตฟันดี ”
โรงเรียนบ้านปาเซ หมู่ 7 ตำบลบองอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นายซำซูดิง มะเด็ง




ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านปาเซ (D2B TOGATHER) พิชิตฟันดี

ที่อยู่ โรงเรียนบ้านปาเซ หมู่ 7 ตำบลบองอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L2506-001-004 เลขที่ข้อตกลง กท.บองอ 005/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านปาเซ (D2B TOGATHER) พิชิตฟันดี จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านปาเซ หมู่ 7 ตำบลบองอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บองอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านปาเซ (D2B TOGATHER) พิชิตฟันดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านปาเซ (D2B TOGATHER) พิชิตฟันดี " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านปาเซ หมู่ 7 ตำบลบองอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2506-001-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,675.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บองอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจสภาวะช่องปากของเด็กนักเรียนตามระบบรายงานเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพปีงบประมาณ 2568 พบว่า เด็กนักเรียนมีปัญหาคราบหินปูนและฟันถาวรผุ จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงสภาพของปัญหาทางทันตสุขภาพในนักเรียนที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน สาเหตุสำคัญของปัญหาเนื่องจากขาดการเอาใจใส่ดูแลช่องปากและฟัน ทั้งจากตัวนักเรียนเอง จากครอบครัว และทางโรงเรียนยังขาดการสนับสนุน ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ซึ่งจะทำให้เกิดผลเสียต่อเด็ก เช่น เด็กขาดเรียน มีเวลาเรียนไม่พอ ทำให้สอบตกซ้ำชั้นได้ เมื่อพิจารณาถึงวิธีในการแก้ไขปัญหาทางทันตสุขภาพ พบว่า การส่งเสริมให้เด็กนักเรียนดูแลและทำความสะอาดช่องปากด้วยตนเอง โดยการแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน การสอนทันตสุขศึกษาในโรงเรียน และการรับบริการทันตกรรม ซึ่งวิธีการแก้ไขปัญหาดังกล่าวมีส่วนช่วยในการเสริมสร้างทัศนคติที่ดีในการดูแลทันตสุขภาพของนักเรียน รวมทั้งยังเป็นการปลูกฝังจิตสำนึกของการสร้างสุขภาพที่ดีในอนาคตด้วย เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาดังกล่าวทางโรงเรียน จึงได้จัดทำโครงการ บ้านปาเซ (D2B TOGATHER) พิชิตฟันดี ขึ้นเพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้นักเรียนและผู้ปกครอง ได้ตระหนักถึงปัญหาและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาทางทันตสุขภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ทางทันตสุขภาพและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
  2. 2. เพื่อปลูกฝังพฤติกรรมการแปรงฟันที่ถูกต้อง
  3. 3.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคในระบบช่องปากและฟันของนักเรียน
  4. 4. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ให้ความรู้เรื่องการดูแลอวัยวะในช่องปากและวิธีแปรงฟันที่ถูกต้อง
  2. กิจกรรมที่ 2 อยากฟันสวย ต้องขยันแปรงฟัน
  3. กิจกรรมที่ 3 ฟันสะอาด หมั่นดูแล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 32
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 81
กลุ่มวัยทำงาน 69
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันที่ถูกต้องและนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน 2.จำนวนนักเรียนที่มีปัญหาทางสุขภาพช่องปากและฟันมีจำนวนลดลง 3.ผู้ปกครองเห็นความสำคัญของปัญหาทันตสุขภาพและให้ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา 4.นักเรียนมีจิตสำนึกในการดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ทางทันตสุขภาพและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนได้รับความรู้ทางทันตสุขภาพและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ชีวิตประจำวัน ร้อยละ 100
113.00 113.00

 

2 2. เพื่อปลูกฝังพฤติกรรมการแปรงฟันที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 2. นักเรียนสามารถสาธิตการแปรงฟันที่ถูกต้องตามหลักทันตกรรม ร้อยละ 80
113.00 90.00

 

3 3.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคในระบบช่องปากและฟันของนักเรียน
ตัวชี้วัด : 3.นักเรียนไม่มีฟันผุเพิ่มขึ้นหลังเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80
113.00 90.00

 

4 4. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 4. ผู้ปกครองสนับสนุนและส่งเสริมให้เด็กแปรงฟันที่บ้านอย่างสม่ำเสมอ ร้อยละ 100
69.00 69.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 182
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 32
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 81
กลุ่มวัยทำงาน 69
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ทางทันตสุขภาพและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน (2) 2. เพื่อปลูกฝังพฤติกรรมการแปรงฟันที่ถูกต้อง (3) 3.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคในระบบช่องปากและฟันของนักเรียน (4) 4. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนได้อย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ให้ความรู้เรื่องการดูแลอวัยวะในช่องปากและวิธีแปรงฟันที่ถูกต้อง (2) กิจกรรมที่ 2  อยากฟันสวย ต้องขยันแปรงฟัน (3) กิจกรรมที่ 3  ฟันสะอาด หมั่นดูแล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โรงเรียนบ้านปาเซ (D2B TOGATHER) พิชิตฟันดี จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L2506-001-004

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายซำซูดิง มะเด็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด