โครงการปรับตัว เปลี่ยนใจ ลดพฤติกรรมเสี่ยง ความดันโลหิตสูงเเละเบาหวาน ในตำบลจอเบาะ ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับตัว เปลี่ยนใจ ลดพฤติกรรมเสี่ยง ความดันโลหิตสูงเเละเบาหวาน ในตำบลจอเบาะ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายอุสมัน กาเซ็ง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จอเบาะ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการปรับตัว เปลี่ยนใจ ลดพฤติกรรมเสี่ยง ความดันโลหิตสูงเเละเบาหวาน ในตำบลจอเบาะ ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ ุ68-L2496-1-3 เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับตัว เปลี่ยนใจ ลดพฤติกรรมเสี่ยง ความดันโลหิตสูงเเละเบาหวาน ในตำบลจอเบาะ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จอเบาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับตัว เปลี่ยนใจ ลดพฤติกรรมเสี่ยง ความดันโลหิตสูงเเละเบาหวาน ในตำบลจอเบาะ ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับตัว เปลี่ยนใจ ลดพฤติกรรมเสี่ยง ความดันโลหิตสูงเเละเบาหวาน ในตำบลจอเบาะ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ุ68-L2496-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,120.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จอเบาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ เช่น กรรมพันธุ์ อายุ และปัจจัยที่สามารถควบคุมได้ เช่น ความอ้วน ความเครียด ขาดการออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร การดื่มสุรา สูบบุหรี่ ถ้าหากประชาชนไม่มีการควบคุมปัจจัยดังกล่าว ร่วมกับการมีอายุที่มากขึ้น คือ ๓๕ ปีขึ้นไป ย่อมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานหรือความดันโลหิตสูงได้ ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวแล้ว จำเป็นต้องรับประทานยาตลอดชีวิต หรือถ้าหากมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายมากขึ้น จากนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข กำหนดให้หน่วยงานสาธารณสุขทุกพื้นที่ ดำเนินการตรวจสุขภาพเชิงรุก โดยให้อาสาสมัครสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกระดับ ดำเนินการคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ในประชาชนอายุตั้งแต่ ๓๕ ปีขึ้นไป ทั่วประเทศ ให้ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ เพื่อจำแนกเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มสงสัยผู้ป่วยรายใหม่ กลุ่มป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน และกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน เพื่อจะได้วางกลยุทธ์เชิงรุกในการดูแลประชาชนอย่างต่อเนื่อง ให้ประชาชนได้รับทราบภาวะสุขภาพของตนเอง และลดความเสี่ยงรวมถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้มีสุขภาพแข็งแรง
จากผลการดำเนินงานคัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส พบว่าตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน 2,963 ราย ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน ๒,878 ราย คิดเป็นร้อยละ ๙7.13 ตรวจพบประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อ กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 441 คน คิดเป็นร้อยละ 14.88 และโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๒,371 ราย ตรวจคัดกรอง จำนวน ๒,344 ราย คิดเป็นร้อยละ 98.86 ตรวจพบประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อ ความดันโลหิตสูงมาก จำนวน 87 คน คิดเป็นร้อยละ 3.70 ของประชากร อายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ดังนั้น การดูแลผู้ป่วยอย่างครบวงจร และเพื่อให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดการดำเนินงานป้องกันโรคไม่ติดต่อ ในการลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางตาในผู้ป่วย ลดลง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจอเบาะ ได้ตระหนักถึงปัญหาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จึงได้จัดทำโครงการปรับตัว เปลี่ยนใจ ลดพฤติกรรมเสี่ยง ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน
- 2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื่อรังในกลุ่มเสี่ยง
- 3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรม ตรวจภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง ตรวจตา ต้อ ไต เท้า ในผู้ป่วย
- 2. กิจกรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
- ค่าอาหารกลางวันสำหรับกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย
- ค่าอาหารว่างเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย
- ค่าอาหารกลางวันสำหรับกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย
- อาหารว่างเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย
- ค่าตอบแทนวิทยากร
- ค่าป้ายไวนิล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ประชาชน กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและมีสุขภาพที่แข็งแรง
2. อัตราการตรวจพบโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงของประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปลดลง
3. กลุ่มป่วยตรวจพบภาวะแทรกซ้อนลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : - ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป รับการตรวจ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 90
200.00
2
2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื่อรังในกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด :
3
3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน (2) 2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื่อรังในกลุ่มเสี่ยง (3) 3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรม ตรวจภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง ตรวจตา ต้อ ไต เท้า ในผู้ป่วย (2) 2. กิจกรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (3) ค่าอาหารกลางวันสำหรับกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย (4) ค่าอาหารว่างเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย (5) ค่าอาหารกลางวันสำหรับกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย (6) อาหารว่างเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย (7) ค่าตอบแทนวิทยากร (8) ค่าป้ายไวนิล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับตัว เปลี่ยนใจ ลดพฤติกรรมเสี่ยง ความดันโลหิตสูงเเละเบาหวาน ในตำบลจอเบาะ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ ุ68-L2496-1-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอุสมัน กาเซ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับตัว เปลี่ยนใจ ลดพฤติกรรมเสี่ยง ความดันโลหิตสูงเเละเบาหวาน ในตำบลจอเบาะ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายอุสมัน กาเซ็ง
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ ุ68-L2496-1-3 เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับตัว เปลี่ยนใจ ลดพฤติกรรมเสี่ยง ความดันโลหิตสูงเเละเบาหวาน ในตำบลจอเบาะ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จอเบาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับตัว เปลี่ยนใจ ลดพฤติกรรมเสี่ยง ความดันโลหิตสูงเเละเบาหวาน ในตำบลจอเบาะ ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับตัว เปลี่ยนใจ ลดพฤติกรรมเสี่ยง ความดันโลหิตสูงเเละเบาหวาน ในตำบลจอเบาะ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ุ68-L2496-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,120.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จอเบาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ เช่น กรรมพันธุ์ อายุ และปัจจัยที่สามารถควบคุมได้ เช่น ความอ้วน ความเครียด ขาดการออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร การดื่มสุรา สูบบุหรี่ ถ้าหากประชาชนไม่มีการควบคุมปัจจัยดังกล่าว ร่วมกับการมีอายุที่มากขึ้น คือ ๓๕ ปีขึ้นไป ย่อมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานหรือความดันโลหิตสูงได้ ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวแล้ว จำเป็นต้องรับประทานยาตลอดชีวิต หรือถ้าหากมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายมากขึ้น จากนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข กำหนดให้หน่วยงานสาธารณสุขทุกพื้นที่ ดำเนินการตรวจสุขภาพเชิงรุก โดยให้อาสาสมัครสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกระดับ ดำเนินการคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ในประชาชนอายุตั้งแต่ ๓๕ ปีขึ้นไป ทั่วประเทศ ให้ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ เพื่อจำแนกเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มสงสัยผู้ป่วยรายใหม่ กลุ่มป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน และกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน เพื่อจะได้วางกลยุทธ์เชิงรุกในการดูแลประชาชนอย่างต่อเนื่อง ให้ประชาชนได้รับทราบภาวะสุขภาพของตนเอง และลดความเสี่ยงรวมถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้มีสุขภาพแข็งแรง
จากผลการดำเนินงานคัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส พบว่าตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน 2,963 ราย ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน ๒,878 ราย คิดเป็นร้อยละ ๙7.13 ตรวจพบประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อ กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 441 คน คิดเป็นร้อยละ 14.88 และโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๒,371 ราย ตรวจคัดกรอง จำนวน ๒,344 ราย คิดเป็นร้อยละ 98.86 ตรวจพบประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อ ความดันโลหิตสูงมาก จำนวน 87 คน คิดเป็นร้อยละ 3.70 ของประชากร อายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ดังนั้น การดูแลผู้ป่วยอย่างครบวงจร และเพื่อให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดการดำเนินงานป้องกันโรคไม่ติดต่อ ในการลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางตาในผู้ป่วย ลดลง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจอเบาะ ได้ตระหนักถึงปัญหาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จึงได้จัดทำโครงการปรับตัว เปลี่ยนใจ ลดพฤติกรรมเสี่ยง ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน
- 2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื่อรังในกลุ่มเสี่ยง
- 3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรม ตรวจภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง ตรวจตา ต้อ ไต เท้า ในผู้ป่วย
- 2. กิจกรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
- ค่าอาหารกลางวันสำหรับกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย
- ค่าอาหารว่างเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย
- ค่าอาหารกลางวันสำหรับกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย
- อาหารว่างเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย
- ค่าตอบแทนวิทยากร
- ค่าป้ายไวนิล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 200 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ประชาชน กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและมีสุขภาพที่แข็งแรง 2. อัตราการตรวจพบโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงของประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปลดลง 3. กลุ่มป่วยตรวจพบภาวะแทรกซ้อนลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน ตัวชี้วัด : - ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป รับการตรวจ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 90 |
200.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื่อรังในกลุ่มเสี่ยง ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | 3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 200 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน (2) 2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื่อรังในกลุ่มเสี่ยง (3) 3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรม ตรวจภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง ตรวจตา ต้อ ไต เท้า ในผู้ป่วย (2) 2. กิจกรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (3) ค่าอาหารกลางวันสำหรับกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย (4) ค่าอาหารว่างเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย (5) ค่าอาหารกลางวันสำหรับกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย (6) อาหารว่างเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย (7) ค่าตอบแทนวิทยากร (8) ค่าป้ายไวนิล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับตัว เปลี่ยนใจ ลดพฤติกรรมเสี่ยง ความดันโลหิตสูงเเละเบาหวาน ในตำบลจอเบาะ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ ุ68-L2496-1-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอุสมัน กาเซ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......