กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสตรีในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหมู่บ้านตำบลจอเบาะปีงบประมาณ 2568

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสตรีในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหมู่บ้านตำบลจอเบาะปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นายอุสมัน กาเซ็ง




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสตรีในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหมู่บ้านตำบลจอเบาะปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2496-1-4 เลขที่ข้อตกลง 12/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสตรีในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหมู่บ้านตำบลจอเบาะปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จอเบาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสตรีในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหมู่บ้านตำบลจอเบาะปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสตรีในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหมู่บ้านตำบลจอเบาะปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2496-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,120.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จอเบาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งปากมดลูก เป็นสาเหตุการตายในอันดับต้นๆของประชาชนคนไทย สำหรับในประชากรสตรีโรคมะเร็งในระบบอวัยวะสืบพันธุ์ส่วนมากจะเกิดในสตรีมากกว่าเพศชายเนื่องจากอวัยวะสืบพันธุ์ของสตรีมีความซับซ้อนมากกว่าเพศชายพบว่าโรคมะเร็งปากมดลูก พบมากในสตรีกลุ่มอายุ ๓๐ - ๖๐ ปี เป็นสาเหตุการตายอันดับแรกของสตรี รองลงมาคือมะเร็งเต้านม ซึ่งทั้งสองชนิดเป็นความท้าทายอย่างหนึ่งของการแก้ปัญหาสาธารณสุข ดังนั้นการให้ความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง ตลอดจนการสร้างพฤติกรรมการดูแลตนเองด้วยการตรวจ Pap smear เพื่อค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะแรกจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งในมาตรการควบคุมโรคดังกล่าว และสถานบริการสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องจะต้องเร่งดำเนินการรณรงค์ สตรีกลุ่มอายุเป้าหมายต้องได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมากกว่า ร้อยละ ๒๐ และจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพและแกนนำสตรีในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกขึ้น โดยตรวจคัดกรองและค้นหาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกในระยะแรกๆ และจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เพื่อนำมาใช้ประจำ ณ สถานบริการสาธารณสุขของตำบล จอเบาะ เพื่อทำให้การดำเนินการคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อให้ความรู้และเสริมสร้างศักยภาพแกนนำสุขภาพและแกนนำสตรีในชุมชนในการป้องกันโรคมะเร็ง
  2. 2.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  2. 2.กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  3. 3.กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  4. 4.กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  5. 1.1 ค่าอาหารกลางวัน สำหรับแกนนำสุขภาพและกลุ่มสตรีอายุ 30-60 ปี
  6. 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับแกนนำสุขภาพและกลุ่มสตรีอายุ 30-60 ปี
  7. 3.3 ค่าตอบเเทนวิทยากร
  8. 4.4 ค่าป้ายไวนิล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. แกนนำสุขภาพและแกนนำสตรีในชุมชนมีศักยภาพในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และสามารถประชาสัมพันธ์ความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหมู่บ้าน ๒. สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจ Pap smear ตามเป้าหมาย ร้อยละ 20 และมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.1 ค่าอาหารกลางวัน สำหรับแกนนำสุขภาพและกลุ่มสตรีอายุ 30-60 ปี

วันที่ 10 มีนาคม 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้เกี่ยวข้อง 2.ร่วมกันกำหนดเนื้อหาการประชาสัมพันธ์ที่ง่ายต่อการเข้าใจ 3.อบรมแกนนำสุขภาพและสตรี การอภิปรายกลุ่มย่อยและการสัมภาษณ์เชิงลึก ช่วยให้เข้าใจความต้องการของกลุ่มได้ดียิ่งขึ้น ไม่เน้นการนั่งฟังบรรยาย 4.จัดตั้งสตรีในกลุ่มอายุดังกล่าวและตัวแทนชุมชนเป็นคณะทำงานประสานงานโครงการในแต่ละหมู่บ้าน 5.จัดมุมให้ความรู้ /สาธิต (ตรวจเต้านม) นำเสนอด้วยวีดีทัศน์ สถานการณ์ ปัญหา เพื่อให้เห็นความสำคัญของโรคมะเร็งและการป้องกัน 6.ในรายที่ตรวจพบความผิดปกติ ได้รับการติดตามดูแล/รักษา ได้อย่างถูกต้อง 7.ประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการ
8.ส่งเสริมการจัดตั้งกลุ่มเพื่อเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมายในชุมชน 9.สรุปผลการดำเนินงาน/โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑.  แกนนำสุขภาพและแกนนำสตรีในชุมชนมีศักยภาพในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และสามารถประชาสัมพันธ์ความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหมู่บ้าน ๒. สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจ Pap smear ตามเป้าหมาย ร้อยละ 20 และมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80

 

200 0

2. 3.3 ค่าตอบเเทนวิทยากร

วันที่ 10 มีนาคม 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้เกี่ยวข้อง 2.ร่วมกันกำหนดเนื้อหาการประชาสัมพันธ์ที่ง่ายต่อการเข้าใจ 3.อบรมแกนนำสุขภาพและสตรี การอภิปรายกลุ่มย่อยและการสัมภาษณ์เชิงลึก ช่วยให้เข้าใจความต้องการของกลุ่มได้ดียิ่งขึ้น ไม่เน้นการนั่งฟังบรรยาย 4.จัดตั้งสตรีในกลุ่มอายุดังกล่าวและตัวแทนชุมชนเป็นคณะทำงานประสานงานโครงการในแต่ละหมู่บ้าน 5.จัดมุมให้ความรู้ /สาธิต (ตรวจเต้านม) นำเสนอด้วยวีดีทัศน์ สถานการณ์ ปัญหา เพื่อให้เห็นความสำคัญของโรคมะเร็งและการป้องกัน 6.ในรายที่ตรวจพบความผิดปกติ ได้รับการติดตามดูแล/รักษา ได้อย่างถูกต้อง 7.ประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการ
8.ส่งเสริมการจัดตั้งกลุ่มเพื่อเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมายในชุมชน 9.สรุปผลการดำเนินงาน/โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑.  แกนนำสุขภาพและแกนนำสตรีในชุมชนมีศักยภาพในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และสามารถประชาสัมพันธ์ความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหมู่บ้าน ๒. สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจ Pap smear ตามเป้าหมาย ร้อยละ 20 และมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80

 

0 0

3. 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับแกนนำสุขภาพและกลุ่มสตรีอายุ 30-60 ปี

วันที่ 10 มีนาคม 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้เกี่ยวข้อง 2.ร่วมกันกำหนดเนื้อหาการประชาสัมพันธ์ที่ง่ายต่อการเข้าใจ 3.อบรมแกนนำสุขภาพและสตรี การอภิปรายกลุ่มย่อยและการสัมภาษณ์เชิงลึก ช่วยให้เข้าใจความต้องการของกลุ่มได้ดียิ่งขึ้น ไม่เน้นการนั่งฟังบรรยาย 4.จัดตั้งสตรีในกลุ่มอายุดังกล่าวและตัวแทนชุมชนเป็นคณะทำงานประสานงานโครงการในแต่ละหมู่บ้าน 5.จัดมุมให้ความรู้ /สาธิต (ตรวจเต้านม) นำเสนอด้วยวีดีทัศน์ สถานการณ์ ปัญหา เพื่อให้เห็นความสำคัญของโรคมะเร็งและการป้องกัน 6.ในรายที่ตรวจพบความผิดปกติ ได้รับการติดตามดูแล/รักษา ได้อย่างถูกต้อง 7.ประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการ
8.ส่งเสริมการจัดตั้งกลุ่มเพื่อเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมายในชุมชน 9.สรุปผลการดำเนินงาน/โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑.  แกนนำสุขภาพและแกนนำสตรีในชุมชนมีศักยภาพในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และสามารถประชาสัมพันธ์ความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหมู่บ้าน ๒. สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจ Pap smear ตามเป้าหมาย ร้อยละ 20 และมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80

 

0 0

4. 4.4 ค่าป้ายไวนิล

วันที่ 10 มีนาคม 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้เกี่ยวข้อง 2.ร่วมกันกำหนดเนื้อหาการประชาสัมพันธ์ที่ง่ายต่อการเข้าใจ 3.อบรมแกนนำสุขภาพและสตรี การอภิปรายกลุ่มย่อยและการสัมภาษณ์เชิงลึก ช่วยให้เข้าใจความต้องการของกลุ่มได้ดียิ่งขึ้น ไม่เน้นการนั่งฟังบรรยาย 4.จัดตั้งสตรีในกลุ่มอายุดังกล่าวและตัวแทนชุมชนเป็นคณะทำงานประสานงานโครงการในแต่ละหมู่บ้าน 5.จัดมุมให้ความรู้ /สาธิต (ตรวจเต้านม) นำเสนอด้วยวีดีทัศน์ สถานการณ์ ปัญหา เพื่อให้เห็นความสำคัญของโรคมะเร็งและการป้องกัน 6.ในรายที่ตรวจพบความผิดปกติ ได้รับการติดตามดูแล/รักษา ได้อย่างถูกต้อง 7.ประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการ
8.ส่งเสริมการจัดตั้งกลุ่มเพื่อเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมายในชุมชน 9.สรุปผลการดำเนินงาน/โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑.  แกนนำสุขภาพและแกนนำสตรีในชุมชนมีศักยภาพในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และสามารถประชาสัมพันธ์ความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหมู่บ้าน ๒. สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจ Pap smear ตามเป้าหมาย ร้อยละ 20 และมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑.เพื่อให้ความรู้และเสริมสร้างศักยภาพแกนนำสุขภาพและแกนนำสตรีในชุมชนในการป้องกันโรคมะเร็ง
ตัวชี้วัด : ๑.แกนนำสตรีสุขภาพและแกนนำสตรีในชุมชนมีศักยภาพในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และสามารถประชาสัมพันธ์ความสำคัญของการตรวจมะเร็งปากมดลูกในหมู่บ้าน
200.00

 

2 2.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : 2.สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจ Pap smear ตามเป้าหมาย ร้อยละ 20 และตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง ร้อยละ ๘๐

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้ความรู้และเสริมสร้างศักยภาพแกนนำสุขภาพและแกนนำสตรีในชุมชนในการป้องกันโรคมะเร็ง (2) 2.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) 2.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (3) 3.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (4) 4.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (5) 1.1 ค่าอาหารกลางวัน สำหรับแกนนำสุขภาพและกลุ่มสตรีอายุ 30-60 ปี (6) 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับแกนนำสุขภาพและกลุ่มสตรีอายุ 30-60 ปี (7) 3.3 ค่าตอบเเทนวิทยากร (8) 4.4 ค่าป้ายไวนิล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสตรีในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหมู่บ้านตำบลจอเบาะปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2496-1-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอุสมัน กาเซ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด