กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการการเฝ้าระวังทุพโภชนาการ และแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน สู่มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองทราย
วันที่อนุมัติ 19 กุมภาพันธ์ 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2568
งบประมาณ 23,020.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวนูรีย๊ะ โอะจิ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.647,101.231place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 25 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มวัยทำงาน 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ภาวะโกชนาการที่ดีเป็นรากฐานสำคัญของการมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย โดยเฉพาะในช่วงที่มีการเจริญเติบโตตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 72 เดือน ซึ่งการกินอาหารถูกต้อง เหมาะสม และพอเพียงจะทำให้มีภาวะโภชนาการดีและนำไปสู่การมีสุขภาพดี การเจริญเติบโตของเด็กจึงถือเป็นตัวชี้วัดที่สำคัญต่อสูขภาภาพโดยรวม โดยเฉพาะในเด็กก่อนวัยเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา เป็นวัยที่มีความสำคัญ เหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐาน เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต อาหารจึงเป็นปัจจัยสำคัญต่อสติปัญญาและสุขภาพรวมทั้งพัฒนาการของเด็ก เด็กที่กินอาหารครบ ๕ หมู่ มีความหลากหลายในปริมาณที่เหมาะสม เด็กจะมีการเจริญเติบโตดี ฉลาดเรียนรู้เร็ว สนใจต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นผลทำให้พัฒนาการเด็กเหมาะสมตามวัยการเจริญเติบโตของเด็ก ถือเป็นตัวชี้วัดที่สำคัญต่อสุขภาพโดยส่วนรวม ในทางตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์หรือถ้ากินอาหารมากเกินไป ก็จะทำให้เป็นโรคอ้วน หรือโภชนาการเกิน แต่ถ้าเด็กได้รับอาหารไม่เพียงพอ ยอมมีผลทำให้พัฒนาการทางสมองไม่ดี เรียนรู้ช้าเป็นผลให้พัฒนาการไม่เหมาะสมตามวัย อาหารจึงเป็นปัจจัยสำคัญต่อสติปัญญาและสุขภาพรวมทั้งพัฒนาการของเด็ก "โภขนาการ" จึงเป็นเรื่องของการกิน "อาหาร" ที่ร่างกายเรานำ "สารอาหาร" จากอาหารไปใช้ประโยชน์ และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิต ซึ่งปัจจุบันพบว่ามีเด็กอายุ 0 - 72 เดือน ที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ เนื่องจากผู้ปกครองเด็กยังขาดความรู้ความเข้าใจด้านโภชนาการ และมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้องรวมทั้งผู้ปกครองมีบุตรมาก ทำให้ไม่มีเวลาดูแลบุตร หรือส่งเสริมที่ถูกวิธี กลายเป็นเด็กขาดสารอาหารจะก่อให้เกิดผลเสียในทุกช่วงอายุ ทั้งนี้ข้อมูลด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่พบว่า ปัญหาด้านอนามัยแม่และเด็กจะต้องรีบดำเนินการแก้ไขอย่างเร่งด่วน เนื่องจากพบเด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะทุพโภชนาการ ร้อยละ 71.56 ซึ่งภาวะทุพโภชนาการ จะส่งผลต่อการพัฒนาด้านร่างกายและสมอง เด็กที่กำลังเจริญเติบโตไม่เป็นไปตามวัย มีผลต่อการเจริญเติบโตทางสติปัญญา และทำให้เกิดการเจ็บป่วยบ่อย     ภาวะโกชนาการที่ดี จะส่งผลต่อการเจริญเติบโตของเด็ก ซึ่งมีผลต่อการส่งเสริมพัฒนาการ ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ป้องกันปัญหาสุขภาพ และวางพื้นฐานให้เด็กสามารถพัฒนาศักยภาพตนได้อย่างเต็มที่ การได้รับสารอาหารที่เหมาะสมและเพียงพอ จึงมีความสำคัญมากต่อพัฒนาการและสติปัญญาของเด็ก ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองทราย จึงจัดทำโครงการการประเมินภาวะโภชนาการ และแก่ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน ในปีงประมาณ 2568 เพื่อขอรับสนับสนุนประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลแม่ลาน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการในเด็กกลุ่มวัยเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพภาวะโภชนาการ

เด็กก่อนวัยเรียนมีภาวะโภชนาการปกติ ร้อยละ 90

2 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการ

ผู้ดูแลหรือผู้ปกครองเด็ก มีความรู้ ความเข้าใจใในการดูแลโภชนาการของเด็ก ร้อยละ 90

3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียน มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองตามวัย

เด็กก่อนวัยเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองตามวัย ร้อยละ 90

4 เพื่อให้เด็กที่มีปัญหาโภชนาการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมเป็นไปตามวัย

เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมเป็นไปตามวัย ร้อยละ 90

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณม.ค. 68ก.พ. 68มี.ค. 68เม.ย. 68พ.ค. 68มิ.ย. 68ก.ค. 68ส.ค. 68ก.ย. 68
1 กิจกรรมที่ 1(1 ม.ค. 2568-30 ก.ย. 2568) 8,020.00                  
2 กิจกรรมที่ 2(1 ม.ค. 2568-30 ก.ย. 2568) 15,000.00                  
รวม 23,020.00
1 กิจกรรมที่ 1 กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 35 8,020.00 0 0.00 8,020.00
1 ม.ค. 68 กิจกรรมอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. และผู้ดูแลเด็กหรือผู้ปกครองเด็ก 35 8,020.00 - -
2 กิจกรรมที่ 2 กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 35 15,000.00 0 0.00 15,000.00
26 ก.พ. 68 ติดตามเฝ้าระวังและส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ 35 15,000.00 - -
รวมทั้งสิ้น 70 23,020.00 0 0.00 23,020.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เพื่อให้มีการเฝ้าระวัง ติดตามแก้ไขภาวะโภชนาการ และพัฒนาภาวะโภชนาการครบถ้วน ตามหลักโภชนาการ
  2. ผู้ปกครองและเด็ก มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก และส่งเสริมให้เด็กรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบถ้วนตามหลักโภชนาการ
  3. เด็กที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์เกินเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด
  4. เด็กที่มีปัญหาโภชนาการมีการปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมตามวัย
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 ก.พ. 2568 15:48 น.