กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station บ้านปากทุ่ง ”
ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายสรยุทธ์ หมัดขาว




ชื่อโครงการ โครงการสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station บ้านปากทุ่ง

ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68 – L8287 – 2 - 10 เลขที่ข้อตกลง 11/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station บ้านปากทุ่ง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station บ้านปากทุ่ง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station บ้านปากทุ่ง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68 – L8287 – 2 - 10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,220.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ยังคงเป็นปัญหาสำคัญระดับโลก และเป็นสาเหตุอันดับต้นๆ ของการเสียชีวิตของคนไทย โดยเขตสุขภาพที่ 12 พบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งผู้ป่วยกลุ่มนี้มีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ ได้ในอนาคต จึงมีนโยบายให้ทุกจังหวัดในเขต จัดตั้งสถานีสุขภาพ (Health Station) ในชุมชน บูรณาการระบบบริการที่เชื่อมโยงโดยใช้กลไก 3 หมอ เพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงความรู้ในการดูแลสุขภาพ และสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพเบื้องต้นได้สะดวกและรวดเร็ว โดยมีอสม. หมอคนที่ 1 เข้ามามีส่วนร่วมดูแลคนในชุมชน คัดกรองสุขภาพเบื้องต้น อาทิ ชั่งน้ำหนัก วัดความดัน เจาะน้ำตาลในเลือด โดยเริ่มแรก อสม. จะเป็นผู้ทำให้ เมื่อประชาชนได้ใช้บริการเป็นประจำก็จะเริ่มเรียนรู้และเข้าใจ จนสามารถตรวจสุขภาพตัวเองได้ ในส่วนของผู้สูงอายุ จะมี อสม.ประจำสถานีฯ ให้บริการและลงบันทึกผลการตรวจสุขภาพผ่าน QR Code r9 และ Smart อสม. ซึ่งข้อมูลจะส่งต่อไปยังหมอคนที่ 2 ทันที โดยมีเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในหน่วยบริการปฐมภูมิจัดการข้อมูลผ่านระบบรายงาน หากพบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงจะนำเข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน โดยทำงานร่วมกับหน่วยบริการปฐมภูมิ สำหรับกลุ่มที่สงสัยป่วยจะมีการกำกับติดตาม และส่งต่อแพทย์เพื่อเข้ารับการวินิจฉัยโดยเร็ว
        จากข้อมูลคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวศูนย์ 1 โรงพยาบาลเทพา ในปี 2567 ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่เป็นกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 2,474 คน ผลการคัดกรองปกติ 2,068 คน
ร้อยละ 83.6 เสี่ยง 282 คน ร้อยละ 11.4 สงสัยป่วย 110 คน ร้อยละ 4.45 คน และกลุ่มเป้าได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน 3,037 คน ผลการคัดกรองปกติ 2,532 คน ร้อยละ 83.4 เสี่ยง 467 คน ร้อยละ 15.8 สงสัยป่วย 33 คน ร้อยละ 1.1 คน ซึ่งกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยมีค่อนข้างสูงมาก และในปัจจุบันพบว่ากลุ่มเสี่ยงที่ขาดการติด–ตามดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องพบว่ากลายเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานร่วมกับมีภาวะแทรกซ้อน
        คณะกรรมการหมู่บ้านปากทุ่ง หมู่ที่ 8 ตำบลเทพา ได้ตระหนักว่าสุขภาพอนามัยของประชาชนเป็นพื้นฐานสำคัญของการพัฒนาหมู่บ้าน จึงมีนโยบายที่จะพัฒนาประชาชนให้มีสุขภาพอนามัยดีได้รับบริการอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยเน้นให้ประชาชนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองหันมาใส่ใจสุขภาพด้วยการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นโดยให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เป็นผู้ให้บริการร่วมกับคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวศูนย์1 ในการให้บริการแก่ประชาชนในพื้นที่ ในด้านการรักษาพยาบาล ป้องกันโรค และสร้างเสริมสุขภาพ และ ทำหน้าที่ในการถ่ายทอดความรู้ และเฝ้าระวังสุขภาพของประชาชนในหมู่บ้าน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านที่ใช้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station สุขภาพดีขึ้น
  2. เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้าน เข้าถึงคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
  3. เพื่อเพิ่มศักยภาพแกนนำสุขภาพ ในการให้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station
  4. เพื่อให้ประชาชนทราบระดับความเสี่ยงด้านสุขภาพของตนเอง และมีความรู้ ทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมจัดตั้งสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station หมู่ที่ 8 บ้านปากทุ่ง ตำบลเทพา
  2. กิจกรรมเพิ่มศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข และแกนนำชุมชน ในการให้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station และการใช้ Application ในการประมวลผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  3. กิจกรรมจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการใช้บริการในจุดบริการ Health Station check
  4. กิจกรรมให้บริการแก่ประชาชนในพื้นที่ คัดกรองเบื้องต้น
  5. กิจกรรมให้ความรู้และส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในชุมชนอย่างต่อเนื่อง 3 ฐาน
  6. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเทพา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในหมู่บ้าน เข้าถึงการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพิ่มขึ้น
  2. ประชาชนในหมู่บ้านที่ใช้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station สุขภาพดีขึ้น
  3. อัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านที่ใช้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station สุขภาพดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ประชาชนใช้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station ในชุมชน ร้อยละ 60
1.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้าน เข้าถึงคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : ประชาชนในหมู่บ้าน เข้าถึงคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูง มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90
1.00

 

3 เพื่อเพิ่มศักยภาพแกนนำสุขภาพ ในการให้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station
ตัวชี้วัด : แกนนำสุขภาพมีความรอบรู้ในการให้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station แก่ประชาชน ร้อยละ 80
1.00

 

4 เพื่อให้ประชาชนทราบระดับความเสี่ยงด้านสุขภาพของตนเอง และมีความรู้ ทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์)
ตัวชี้วัด : ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมสถานีสุขภาพ ทราบระดับความเสี่ยงของตนเองและมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้นร้อยละ 60
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านที่ใช้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station  สุขภาพดีขึ้น (2) เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้าน เข้าถึงคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง (3) เพื่อเพิ่มศักยภาพแกนนำสุขภาพ ในการให้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station (4) เพื่อให้ประชาชนทราบระดับความเสี่ยงด้านสุขภาพของตนเอง และมีความรู้ ทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดตั้งสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station หมู่ที่ 8 บ้านปากทุ่ง ตำบลเทพา (2) กิจกรรมเพิ่มศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข และแกนนำชุมชน ในการให้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station และการใช้ Application ในการประมวลผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) กิจกรรมจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการใช้บริการในจุดบริการ Health Station check (4) กิจกรรมให้บริการแก่ประชาชนในพื้นที่ คัดกรองเบื้องต้น (5) กิจกรรมให้ความรู้และส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในชุมชนอย่างต่อเนื่อง 3 ฐาน (6) กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเทพา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station บ้านปากทุ่ง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68 – L8287 – 2 - 10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสรยุทธ์ หมัดขาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด