โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงเบาหวานความดันโลหิตสูง
ชื่อโครงการ | โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงเบาหวานความดันโลหิตสูง |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลบางกล่ำ |
วันที่อนุมัติ | 7 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 30,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวยุฑามาส วันดาว |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.04528215,100.3926905place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง : |
||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากการดำเนินงานให้บริการผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2565-2567 พบว่า มีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นทุกปี ดังนี้ ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ 15,18 และ 19 รายตามลำดับ ผู้ป่วยรายใหม่ ความดันโลหิตสูง 24,27 และ 29 คนตามลำดับ และในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตได้ พบ ผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อน โรคหลอดเลือดสมอง ปี 2567 จำนวน 6 ราย เมื่อพิจารณาถึงสาเหตุของการเพิ่มจำนวนผู้ป่วยรายใหม่ มาจากกลุ่มเสี่ยงที่ไม่ได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และกลุ่มป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มารับยา แต่ไม่ได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสมร่วมด้วย จากสาเหตุดังกล่าว คลินิกชุมชนโคกเมาซึ่งเป็นสถานบริการระดับปฐมภูมิที่มีภารกิจส่งเสริมสุขภาพให้กลุ่มเสี่ยงไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่และกลุ่มป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตได้ ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตราย ซึ่งจะส่งผลต่อภารกิจด้านการรักษาพยาบาล ด้านครอบครัวที่ต้องเพิ่มภาระในการดูแล และด้านเศรษฐกิจของผู้ป่วย รวมทั้งงบประมาณด้านค่าใช้จ่ายในระบบบริการสุขภาพที่สูงขึ้น ในขณะที่การส่งเสริมสุขภาพด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการจะช่วยป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน ลดการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ รวมทั้งทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัวทั้งด้านร่างกาย จิตใจและสังคมดีขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2. เพื่อส่งสริมให้กลุ่มป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
|
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | ม.ค. 68 | ก.พ. 68 | มี.ค. 68 | เม.ย. 68 | พ.ค. 68 | มิ.ย. 68 | ก.ค. 68 | ส.ค. 68 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | 1.กิจกรรมคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป 2.กิจกรรมอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 30 คน ระยะเวลา 1 วัน และกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 30 คน ระยะเวลา 1 วัน 3.กิจกรรมอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสู(1 ม.ค. 2568-31 ส.ค. 2568) | 0.00 | ||||||||
รวม | 0.00 |
1 1.กิจกรรมคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป 2.กิจกรรมอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 30 คน ระยะเวลา 1 วัน และกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 30 คน ระยะเวลา 1 วัน 3.กิจกรรมอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสู | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.ประชาชนในชุมชน ที่มีอายุ35ปีขึ้นไป ได้รับความรู้และการคัดกรอง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม 3. ลดอัตราเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 4. ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีขึ้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ก.พ. 2568 09:56 น.