โครงการส่งเสริมอนามัยเด็กวัยเรียนตำบลพิมาน ประจำปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมอนามัยเด็กวัยเรียนตำบลพิมาน ประจำปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L8008-01-34 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสตูล |
วันที่อนุมัติ | 29 เมษายน 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มิถุนายน 2568 - 31 ตุลาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 พฤศจิกายน 2568 |
งบประมาณ | 23,295.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวปารีดา หวันสู |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 มิ.ย. 2568 | 31 ต.ค. 2568 | 23,295.00 | |||
รวมงบประมาณ | 23,295.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 750 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 1450 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | จำนวนนักเรียนที่เป็นเหา(คน) | 199.00 | ||
2 | จำนวนนักเรียนที่มีภาวะสายตาสั้น(คน) | 25.00 | ||
3 | จำนวนนักเรียนขั้น ป.1 ที่ความเข้มข้นเลือด(Hct)ต่ำกว่า 36%(คน) | 4.00 | ||
4 | จำนวนนักเรียนที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ (คน) | 37.00 | ||
5 | จำนวนนักเรียนที่น้ำหนักเกินเกณฑ์ (คน) | 26.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากสภาพทางสังคมและสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันการดำเนินชีวิตของเด็กวัยเรียนและเยาวชนได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วตามการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีการสื่อสารที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างไม่ หยุดนิ่งอาทิเช่น การติดต่อสื่อสารทางสังคมออนไลน์การท่องโลกอินเตอร์เน็ตการเลียนแบบเพื่อให้ทัน ยุคสมัยที่เน้นวัตถุนิยมมากกว่าจิตใจผลของการเปลี่ยนแปลงนี้ทำให้เด็กวัยเรียนและเยาวชนที่เป็นอนาคตสำคัญของชาติกำลังเผชิญกับปัญหาต่างๆเช่น ปัญหาด้านสุขภาพปัญหาช่องปาก ปัญหาทางสายตา และปัญหาโรคทางเดินหายใจซึ่งปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบต่อนักเรียนทำให้มีสติปัญญาด้อยเรียนรู้ช้าภูมิต้านทานโรคต่ำ ติดเชื้อง่ายนักเรียนที่มีภาวะอ้วนจะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องให้ความสำคัญในการเร่งสร้างคุณภาพด้านสุขภาพเพื่อพัฒนาศักยภาพให้เป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นเนื่องจากโรงเรียนเป็นสถาบันทางสังคมพื้นฐานที่มีหน้าที่พัฒนาเด็กวัยเรียนให้มีศักยภาพเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่สามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุขฉะนั้นโรงเรียนจึงเป็นจุดเริ่มต้นของการปลูกฝังความรู้เจตคติและพฤติกรรมทุกๆด้านแก่เด็กวัยเรียนรวมทั้งพฤติกรรมสุขภาพด้วยแต่เนื่องจากโรงเรียนเป็นที่รวมของเด็กในชุมชนที่มาจากครอบครัวที่ต่างกันจึงเป็นปัจจัยสำคัญต่อการเกิดปัญหาโรคภัยไข้เจ็บทั้งโรคติดต่อและไม่ติดต่อที่มีสาเหตุจากพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมอีกทั้งเมื่อนักเรียนคนใดคนหนึ่งเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อ มาโรงเรียนมีโอกาสจะแพร่เชื้อไปสู่นักเรียนคนอื่นๆได้ง่ายจากการเล่น การคลุกคลีกันการทำกิจกรรมร่วมกันเมื่อเด็กป่วยเหล่านี้กลับบ้านย่อมมีโอกาสแพร่เชื้อโรคสู่บุคคลในครอบครัวและชุมชนโรงเรียนจึงเป็นสถานที่สำคัญมากแห่งหนึ่งต่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ดังนั้นการตรวจสุขภาพนักเรียนในงานอนามัยโรงเรียนจึงเป็นการคัดกรองเฝ้าระวังเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านปัญหาสุขภาพได้ โดยการให้ความรู้ปลูกฝังเจตคติเสริมสร้างทักษะที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องการค้นพบปัญหาดังกล่าวนี้นำไปสู่การดูแลสุขภาพเด็กวัยเรียนและเยาวชนอย่างรอบด้านการมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจจะนำไปสู่การพัฒนาสติปัญญาอย่างเต็มศักยภาพและเป็นประชากรที่มีคุณภาพที่จะช่วยพัฒนาประเทศชาติต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็กนักเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองสตูลได้รับการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น ร้อยละ 100 ของนักเรียนในสังกัดเทศบาล |
2200.00 | 2200.00 |
2 | นักเรียนขั้น ป.1 ที่ความเข้มข้นเลือด(Hct)ต่ำกว่า 36% ได้รับยาเสริมธาตุเหล็กต่อเนื่องตามแผนการรักษา ร้อยละ 100 ของนักเรียนชั้น ป.1 ที่มีความเข้มข้นเลือด(Hct)ต่ำกว่า 36 % (โดยให้นักเรียนทานยาเสริมทานเหล็กต่อหน้าคุณครูประจำชั้น) |
4.00 | 4.00 |
3 | นักเรียนที่มีภาวะสายตาสั้นได้รับการส่งต่อ ร้อยละ 100 ของนักเรียนที่มีภาวะสายตาสั้น |
25.00 | 25.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 23,295.00 | 0 | 0.00 | |
1 มิ.ย. 68 - 31 ก.ค. 68 | ประชุมคณะทำงานและเตรียมความพร้อมของอุปกรณ์ | 0 | 22,795.00 | - | ||
1 ก.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | ตรวจสุขภาพนักเรียน | 0 | 0.00 | - | ||
1 - 31 ต.ค. 68 | สรุปผลการดำเนินการโครงการ | 0 | 500.00 | - |
- เพื่อส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่เด็กนักเรียนในเขตเทศบาลเมืองสตูล ทั้ง 5 โรงเรียน
- นักเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองสตูลได้รับการตรวจสุขภาพและได้รับการรักษาเบื้องต้น
- สามารถควบคุมป้องกันโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในวัยเรียนได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ก.พ. 2568 10:35 น.