กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและความรอบรู้ด้านสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตและเบาหวาน ”
ตำบลปะแต อำเภอยะหา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นายสะอูดี กาแต




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและความรอบรู้ด้านสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตและเบาหวาน

ที่อยู่ ตำบลปะแต อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4149-1-4 เลขที่ข้อตกลง 04/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพและความรอบรู้ด้านสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตและเบาหวาน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะแต อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปะแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและความรอบรู้ด้านสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตและเบาหวาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและความรอบรู้ด้านสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตและเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะแต อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4149-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 67,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปะแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเรื้อรังหรือโรคไม่ติดต่อเป็นปัญหาสุขภาพของโลกรวมถึงประเทศไทย และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยพบว่า โรคไม่ติดต่อหรือโรคเรื้อรัง คร่าชีวิตผู้คนไป 41 ล้านคน ในแต่ละปี คิดเป็น 74% ของการเสียชีวิตทั้งหมดทั่วโลก ปีละ 17 ล้าน (WHO, 2567) โดยการคัดกรองโรคเบาหวาน ในประชาชนอายุ 35 ปี จำนวน 17,731,351 คน คิดเป็นร้อยละ 78 พบกลุ่มเสี่ยงป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 162,514 คน คิดเป็นร้อยละ 0.9 การคัดกรองโรคความดันโลหิตในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 15,251,069 คน ร้อยละ 78.1 พบกลุ่มเสี่ยงโรคความดัน ร้อยละ 5.1  (กรมควบคุมโรคไม่ติดต่อ , 2567 ) สำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปะแต ซึ่งมีประชากร อายุ 35 ปีขึ้นไป มีจำนวน1,350 คน ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง 1,302 คน พบว่า มีภาวะปกติ 1,060 ราย ร้อยละ 75.54 เสี่ยง 97 คน สงสัยป่วย 93 คน และ ถูกวินิจฉัยเป็นโรคความดันโลหิตสูง 52 คน และ สำหรับอายุ  35 ปีขึ้นไป ได้รับคัดกรองโรคความเสี่ยงโรคเบาหวาน 1,568 พบว่ากลุ่มเสี่ยง 535 คน คิดเป็นร้อยละ 34.11 สงสัยป่วย 28 คน และถูกวินิจฉัย 18 คน (สาธารณสุขจังหวัดยะลา [HDC], 2567) อย่างไรก็ตาม                ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมดในอำเภอยะหา มีจำนวนทั้งหมด 4,140 คนในจำนวนนี้เป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในตำบลปะแต หรือในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปะแต จำนวน 414 คน ร้อยละ 3.40 สถานการณ์การณย้อนหลัง ( 387 , 396 , 393 ,414 ) ปี 64- 67 และ ผู้ป่วยโรคเบาหวานทั้งหมดในอำเภอยะหา จำนวน 1,536 คน และในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปะแต จำนวน 156 คน (สาธารณสุขจังหวัดยะลา [HDC], 2567)
จากกล่าวข้างต้น หากกลุ่มป่วยโรคเรื้อรัง กลุ่มเสี่ยงมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ ตระหนักดูแลสุขภาพ เข้ารับการดูแลที่เหมาะสม และมีพฤติกรรมที่เหมาะสม มีแนวทางการดูแลที่ชัดเจน และอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีทักษะในการปรับพฤติกรรมเหมาะสมกับโรคเรื้อรังได้ เพื่อลดโอกาสการเกิดโรคเรื้อรังและภาวะแทรกซ้อน และชะลอความรุนแรงของโรคได้ ดังนั้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปะแต จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและความรอบรู้ด้านสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตและเบาหวาน ในปีงบประมาณ 2568

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยไรคเรื้อรังและกลุ่มเสี่ยง มีความตระหนักรู้เรื่องโรคพฤติกรรมสุขภาพและสามารถดูแลต้นเอง ได้เหมาะสมและป้องกันการเกิดโรคหัวใจเฉียบพลัน
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและกลุ่มเสี่ยง ไม่มีภาวะโรคแทรกช้อน ทาง ตา ไต และโรคหลอดเลือดสมองโรคหัวใจ เป็นต้น
  3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคเรื้อรังในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และปฏิบัติตนเกี่ยวกับโรคเรื้อรังได้ถูกต้อง
    2. มีโครงสร้างเครือข่ายในการติดตามผู้ป่วยโรคเรื้อรังและกลุ่มเสี่ย
    3. อัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานรายใหม่ลดล

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้ป่วยไรคเรื้อรังและกลุ่มเสี่ยง มีความตระหนักรู้เรื่องโรคพฤติกรรมสุขภาพและสามารถดูแลต้นเอง ได้เหมาะสมและป้องกันการเกิดโรคหัวใจเฉียบพลัน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและกลุ่มเสี่ยง ไม่มีภาวะโรคแทรกช้อน ทาง ตา ไต และโรคหลอดเลือดสมองโรคหัวใจ เป็นต้น
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคเรื้อรังในชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยไรคเรื้อรังและกลุ่มเสี่ยง มีความตระหนักรู้เรื่องโรคพฤติกรรมสุขภาพและสามารถดูแลต้นเอง ได้เหมาะสมและป้องกันการเกิดโรคหัวใจเฉียบพลัน (2) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและกลุ่มเสี่ยง ไม่มีภาวะโรคแทรกช้อน ทาง ตา ไต และโรคหลอดเลือดสมองโรคหัวใจ เป็นต้น (3) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคเรื้อรังในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพและความรอบรู้ด้านสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตและเบาหวาน จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 68-L4149-1-4

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสะอูดี กาแต )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด