กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน ”
ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลเทพา




ชื่อโครงการ โครงการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน

ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68 – L8287 -1- 3 เลขที่ข้อตกลง 19/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 เมษายน 2568 ถึง 1 พฤษภาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68 – L8287 -1- 3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 เมษายน 2568 - 1 พฤษภาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,880.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา มีสภาพสังคมเป็นสังคมกึ่งเมืองและชนบท มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ประชาชนมีวิถีชีวิตที่เร่งรีบ มีกิจวัตรความเป็นอยู่ การประกอบอาชีพที่เสี่ยงต่อภาวะสุขภาพทั้งทางตรงและทางอ้อม
ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพ เกิดการเจ็บป่วย ครอบครัวมีภาระความรับผิดชอบมากยิ่งขึ้นในการดูแลรักษา ส่งต่อผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤติฉุกเฉิน รวมถึงปัจจัยเสี่ยงด้านอุบัติเหตุที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งปัจจุบันสาเหตุการเสียชีวิตของประชากรในประเทศไทยโดยส่วนใหญ่เกิดจากโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจและหลอดเลือด โรคหัวใจ ความดันโลหิต และอุบัติเหตุ ผู้ป่วยหรือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บเหล่านี้ อาจมีอาการที่ผิดปกติเกิดขึ้นกับร่างกาย หรือบางรายอาจมีภาวะการหยุดหายใจกะทันหัน ถ้าปล่อยไว้นานเกิน 4 นาที แม้จะช่วยให้ฟื้นคืนชีพกลับมาได้ ก็จะเกิดสภาวะการตายของสมองอย่างถาวร ดังนั้นการได้รับการช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างถูกต้องและทันท่วงที และส่งต่อผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บต่อไปยังสถานพยาบาลอย่างเหมาะสม รวดเร็ว และถูกวิธี จะทำให้ผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บมีโอกาสรอดชีวิตและกลับคืนมาใช้ชีวิตเป็นปกติได้ ดังนั้นการอบรมหลักสูตรปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน จึงเป็นหลักสูตรที่สำคัญซึ่งจะทำให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ที่ถูกต้องและได้รับการฝึกฝน จะสามารถนำไปใช้ช่วยเหลือคนรอบตัวและผู้อื่นได้
    กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลเทพา เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้เสนอโครงการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานขึ้น เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาล สามารถช่วยเหลือตนเองและคนรอบตัวในเบื้องต้นได้อย่างถูกต้องก่อนนำส่งสถานพยาบาลต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และทักษะในการช่วยเหลือเบื้องต้นสำหรับตนเองและคนรอบตัวทั้งด้านอุบัติเหตุ และการเจ็บป่วยฉุกเฉิน
  2. เพื่อให้อัตราการเกิดอุบัติเหตุและการเจ็บป่วยฉุกเฉินของคนเทพาลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมประชาชนในชุมชนเพื่อป้องกันอุบัติเหตุจากการใช้รถใช้ถนน
  2. รณรงค์และประชาสัมพันธ์การขับขี่อย่างปลอดภัย และติดตั้งป้ายจุดเสี่ยงต่างๆ ในพื้นที่ตำบลเทพา เพื่อตำบลปลอดภัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 160
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อาสาสมัครภาคประชาชนมีความรู้และทักษะในการช่วยเหลือเบื้องต้นสำหรับตนเองและคนรอบตัวทั้งด้านอุบัติเหตุและการเจ็บป่วยฉุกเฉิน
  2. ชุมชนมีอัตราการเกิดอุบัติเหตุและเจ็บป่วยฉุกเฉินลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และทักษะในการช่วยเหลือเบื้องต้นสำหรับตนเองและคนรอบตัวทั้งด้านอุบัติเหตุ และการเจ็บป่วยฉุกเฉิน
ตัวชี้วัด : อาสาสมัครภาคประชาชน สามารถเป็นผู้ประสานงาน ในการช่วยเหลือเหตุอุบัติเหตุ 1 กลุ่ม/หมู่บ้าน
1.00

 

2 เพื่อให้อัตราการเกิดอุบัติเหตุและการเจ็บป่วยฉุกเฉินของคนเทพาลดลง
ตัวชี้วัด : - มีการติดตั้งป้ายจุดเสี่ยงต่างๆ ครอบคลุมทุกพื้นที่ - ประชาชนมีการสวมหมวกนิรภัย เพิ่มขึ้นร้อยละ 30
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 160
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และทักษะในการช่วยเหลือเบื้องต้นสำหรับตนเองและคนรอบตัวทั้งด้านอุบัติเหตุ และการเจ็บป่วยฉุกเฉิน (2) เพื่อให้อัตราการเกิดอุบัติเหตุและการเจ็บป่วยฉุกเฉินของคนเทพาลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมประชาชนในชุมชนเพื่อป้องกันอุบัติเหตุจากการใช้รถใช้ถนน (2) รณรงค์และประชาสัมพันธ์การขับขี่อย่างปลอดภัย และติดตั้งป้ายจุดเสี่ยงต่างๆ ในพื้นที่ตำบลเทพา เพื่อตำบลปลอดภัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68 – L8287 -1- 3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลเทพา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด