โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มวัยทำงานลดความเสี่ยง NCDs
ชื่อโครงการ | โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มวัยทำงานลดความเสี่ยง NCDs |
รหัสโครงการ | 68-L8281-1-10 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลสุคิริน |
วันที่อนุมัติ | 17 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 17 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 20,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายณัทนัย ศักดิรัตน์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นาย อายิ หะมาดุลลาห์ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 5.942256,101.777472place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน | 80.00 | ||
2 | ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง | 80.00 | ||
3 | ร้อยละของประชาชนมีการบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ | 80.00 | ||
4 | 4.ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงไม่ป่วยด้วยโรค NCDs | 80.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
กลุ่มโรค NCDs เป็นกลุ่มโรคที่คร่าชีวิตประชากรโลกมากกว่าสาเหตุการตายอื่นๆ และยังมีแนวโน้มที่มีผู้ป่วยเป็นโรคนี้เพิ่มขึ้นในทุกปี ซึ่งกลุ่มโรค NCDs นี้มักพบมากในกลุ่มวัยทำงาน ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงที่อาจนำไปสู่การเกิดโรค NCDs สาเหตุหลักสำคัญของกลุ่มโรค NCDs คือพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ในการดำเนินชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหารรสจัด เช่น หวานจัด เค็มจัด อาหารที่มีไขมันสูง อาหารปิ้งย่าง การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ การไม่ออกกำลังกาย การนอนดึก การมีความเครียดสูง การรับประทานยาโดยไม่ปรึกษาแพทย์ เป็นต้น ดังนั้นคนที่มีพฤติกรรมการดำเนินชีวิตเช่นนี้จึงมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรค NCDs ได้มากกว่าคนอื่นๆ ทางโรงพยาบาลสุคิรินจึงเห็นความสำคัญของกลุ่มวัยทำงานเพราะต้องการความเร่งด่วนในการใช้ชีวิตประจำวัน จึงอาจจะไม่ค่อยมีเวลาในการควบคุมการกิน ให้หันมามีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง จึงได้ทำโครงการเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มวัยทำงานไม่ให้เป็นกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และลดการเสียชีวิตจากโรค NCDs
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง |
80.00 | 80.00 |
2 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง |
80.00 | 80.00 |
3 | เพื่อให้มีการบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ ร้อยละของประชาชนมีการบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ |
80.00 | 100.00 |
4 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงไม่ป่วยด้วยโรค NCDs ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงไม่ป่วยด้วยโรค NCDs |
80.00 | 80.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อให้มีการบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 : เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงไม่ป่วยด้วยโรค NCDs |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
ไม่ระบุวัตถุประสงค์ |
||||||
10 มี.ค. 68 | ชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการและรับสมัครกลุ่มเป้าหมายเข้าโครงการ | 1,970.00 | - | |||
17 มี.ค. 68 | คัดกรองความดัน เบาหวานในกลุ่มเป้าหมายโครงการ | 1,250.00 | - | |||
1 เม.ย. 68 | อบรมให้ความรู้เรื่องโรค NCDs | 2,150.00 | - | |||
1 พ.ค. 68 | อบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารในกลุ่มเสี่ยง | 2,150.00 | - | |||
2 มิ.ย. 68 | อบรมให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกายและปฏิบัติในกลุ่มเสี่ยง | 2,150.00 | - | |||
9 มิ.ย. 68 | สาธิตอาหารและทดสอบอาหารที่กินเป็นประจำ | 4,580.00 | - | |||
1 ก.ค. 68 | ติดตามผลเลือดของกลุ่มเสี่ยงและยกระดับเป็นบุคคลต้นแบบจำนวน 20 คน | 5,750.00 | - |
หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้
1.ประชาชนไม่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง 2.ประชาชนไม่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน 3.ประชาชนบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ 4.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงไม่ป่วยด้วยโรค NCDs
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ก.พ. 2568 00:00 น.