กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการจัดตั้งสถานีสุขภาพชุมชน (Health Station) ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางอุไร สีหมัด




ชื่อโครงการ โครงการจัดตั้งสถานีสุขภาพชุมชน (Health Station) ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68 - L5194 - 2 - 08 เลขที่ข้อตกลง 8/68

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดตั้งสถานีสุขภาพชุมชน (Health Station) ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสะกอม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดตั้งสถานีสุขภาพชุมชน (Health Station) ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดตั้งสถานีสุขภาพชุมชน (Health Station) ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68 - L5194 - 2 - 08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสะกอม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล
    โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาอันดับหนึ่งของโลกและประเทศไทย โดยเฉพาะกลุ่มโรค 4 โรคหลัก ได้แก่กลุ่มโรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็ง โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และโรคเบาหวาน เป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตของคนไทยซึ่งปัจจัยมาจากพฤติกรรมเสี่ยง เช่น การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การบริโภคหวาน มัน เค็ม และมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยทางสังคม เช่น การขยายตัวของสังคมเมือง กลยุทธ์ทางการตลาด ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และการสื่อสาร ที่ส่งผลต่อวิถีชีวิต และทำให้ประชาชนป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มมากอย่างต่อเนื่อง ซึ่งการคัดกรองนับว่าเป็นสิ่งสำคัญในการจัดการเบื้องต้น หากการจัดบริการคัดกรองไม่ทั่วถึงและประชาชนขาดโอกาสในการเข้าถึงบริการและองค์ความรู้ในการจัดการตนเอง กระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายลดความแออัดในสถานพยาบาล ทำให้เกิดนวัตกรรมการให้บริการคัดกรองและติดตามภาวะความดันและน้ำตาลในเลือดนอกสถานพยาบาลมีสมุดบันทึกข้อมูลสุขภาพสุขภาพออนไลน์ด้วย Application บนมือถือของประชาชนและเชื่อมต่อข้อมูลกับสถานพยาบาล จากการคัดกรองสุขภาพของคนในชุมชนพื้นที่ หมู่ 6 บ้านแซะ พบว่าปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังยังคงมีปัญหาอย่างต่อเนื่องมีจำนวนผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังทั้งสิ้น 221 ราย ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 163 ราย ผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 43 ราย ผู้ป่วยเบาหวานและความความดันโลหิตสูง จำนวน 15 ราย ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 3 ราย ผู้ป่วยโรคมะเร็ง 2 ราย ผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน จำนวน 2 ราย โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง จำนวน 3 ราย โรคอ้วน 34 ราย และโรคอ้วนในนักเรียน จำนวน 11 ราย ในปีงบประมาณ 2568      ทีมรักสุขภาพคนบ้านแชะ มุ่งหวังเพิ่มประสิทธิภาพความครอบคลุมการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จึงได้จัดทำโครงการปรับพฤติกรรมเปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความโลหิตสูง ตามวิถีชุมชน ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น โดยให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสร้างความร่วมมือ และพัฒนากิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดอัตราเพิ่มของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จึงมีความคาดหวังว่าจะช่วยให้ประชาชนทั้งกลุ่มปกติ และกลุ่มป่วยสามารถเข้าถึงบริการ การตรวจเฝ้าระวังทางสุขภาพได้สะดวกขึ้น และลดอัตราการป่วย การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ เรื้อรังลงได้ จึงได้เขียนโครงการนำร่องจัดตั้งสถานีสุขภาพในชุมชน ( Health Station) ขึ้น โดยจะจัดตั้งทั้งหมดจำนวน 7 สถานี กระจายโดยทั่วถึง เพื่อความสะดวกในการเข้าถึงของประชาชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้มีสถานีสุขภาพ (Health Station) ต้นแบบ ในหมู่บ้านหรือชุมชน
  2. เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในหมู่บ้าน เข้าถึงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่สถานีสุขภาพ (Health Station) มากกว่าร้อยละ 90
  3. ประชาชนในหมู่บ้านที่ใช้บริการสถานีสุขภาพ (Health Station) สุขภาพดีขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การจัดตั้งสถานีสุขภาพ (Health Station)
  2. การจัดกิจกรรมการอบรมกลุ่มเป้าหมายให้มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตัวเอง การดำเนินการให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในหมู่บ้าน เข้าถึงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่สถานีสุขภาพ (Health Station) มากกว่าร้อยละ 90ในพื้นที่ หมู่ที่ 6 บ้านแซะและกา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีสถานีสุขภาพ (Health Station) ต้นแบบ ในหมู่บ้านให้ประชาชนได้เข้าถึงการคัดกรองโรค มีความรู้และสามารถคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐาน 2.ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในหมู่บ้าน เข้าถึงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่สถานีสุขภาพ (Health Station) มากกว่าร้อยละ 90 3.ประชาชนในหมู่บ้านที่ใช้บริการสถานีสุขภาพ  (Health Station) สุขภาพดีขึ้น มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนัก รวมทั้งสามารถประเมินสภาวะสุขภาพในเรื่องการป้องกันโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงได้
  2. มีเครือข่าย/แกนนำด้านสุขภาพในชุมชน และบุคคลต้นแบบ ของชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้มีสถานีสุขภาพ (Health Station) ต้นแบบ ในหมู่บ้านหรือชุมชน
ตัวชี้วัด : มีสถานีสุขภาพ (Health Station) ต้นแบบ ในหมู่บ้าน

 

2 เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในหมู่บ้าน เข้าถึงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่สถานีสุขภาพ (Health Station) มากกว่าร้อยละ 90
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่สถานีสุขภาพ (Health Station)

 

3 ประชาชนในหมู่บ้านที่ใช้บริการสถานีสุขภาพ (Health Station) สุขภาพดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ผ่านการตรวจคัดกรองเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงลดลง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้มีสถานีสุขภาพ (Health Station) ต้นแบบ ในหมู่บ้านหรือชุมชน (2) เพื่อให้ประชากรอายุ  35 ปีขึ้นไปในหมู่บ้าน เข้าถึงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่สถานีสุขภาพ (Health Station) มากกว่าร้อยละ 90 (3) ประชาชนในหมู่บ้านที่ใช้บริการสถานีสุขภาพ  (Health Station)  สุขภาพดีขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การจัดตั้งสถานีสุขภาพ (Health Station) (2) การจัดกิจกรรมการอบรมกลุ่มเป้าหมายให้มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตัวเอง การดำเนินการให้ประชากรอายุ  35 ปีขึ้นไปในหมู่บ้าน เข้าถึงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่สถานีสุขภาพ (Health Station) มากกว่าร้อยละ 90ในพื้นที่ หมู่ที่ 6 บ้านแซะและกา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดตั้งสถานีสุขภาพชุมชน (Health Station) ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68 - L5194 - 2 - 08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอุไร สีหมัด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด