โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน ห่างไกลยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน ห่างไกลยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล ”
ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายอิสแมน เหมหมัด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสะกอม
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน ห่างไกลยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล
ที่อยู่ ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 - L5194 - 2 - 10 เลขที่ข้อตกลง 10/68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน ห่างไกลยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสะกอม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน ห่างไกลยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน ห่างไกลยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68 - L5194 - 2 - 10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสะกอม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
ตามประกาศยุทธศาสตร์ชาติ ข้อ 4.7 การเสริมสร้างศักยภาพการกีฬาในการสร้างคุณค่าทางสังคมและพัฒนาประเทศ โดยมุ่งส่งเสริมการใช้กิจกรรมนันทนาการและกีฬาเป็นเครื่องมือในการเสริมสร้างสุขภาวะของประชาชน อย่างครบวงจรและมีคุณภาพมาตรฐาน การสร้างนิสัยรักกีฬาและมีน้ำใจเป็นนักกีฬา และการใช้กีฬา และนันทนาการในการพัฒนาจิตใจ สร้างความสามัคคีของคนในชาติหล่อหลอมการเป็นพลเมืองดี พัฒนาคุณภาพชีวิต รวมทั้งการพัฒนาทักษะด้านกีฬาสู่ความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพในระดับ นานาชาติในการสร้างชื่อเสียงและเกียรติภูมิของประเทศชาติเพื่อรองรับอุตสาหกรรมกีฬา 4.7.1 การส่งเสริมการออกกําลังกาย และกีฬาขั้นพื้นฐานให้กลายเป็นวิถีชีวิต โดยส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน ประชาชนทั่วไป บุคคลกลุ่มพิเศษ และผู้ด้อยโอกาส มีความรู้ความเข้าใจ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการออกกําลังกาย การปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการเล่นกีฬาบางชนิดที่มี ความจําเป็นต่อทักษะในการดํารงชีวิต รวมทั้งการมีอิสระในการประกอบกิจกรรมนันทนาการตามความ ถนัดหรือความสนใจเฉพาะบุคคล และปฏิบัติอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็นวิถีชีวิต เพื่อพัฒนาจิตใจ สร้างความสัมพันธ์อันดีหล่อหลอมจิตวิญญาณและการเป็นพลเมืองดี 4.7.2 การส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมออกกําลังกาย กีฬา และนันทนาการ โดยเน้นการจัดกิจกรรมกีฬา สร้างโอกาสและสนับสนุนการมีส่วนร่วมในกิจกรรมกีฬา อย่างต่อเนื่อง การปลูกฝังให้มีคุณธรรมของความเป็นนักกีฬา มีระเบียบ วินัย รู้แพ้รู้ชนะ รู้อภัย และรู้จักการขอโทษ รวมถึงการพัฒนาบุคลากรและโครงสร้างพื้นฐาน ด้านอุปกรณ์สถานที่ และสิ่งอํานวยความสะดวกทางกีฬาและนันทนาการที่มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับความ ต้องการและเหมาะสมกับประชาชนทุกกลุ่ม ทุกเพศ ทุกวัย 4.7.3 การส่งเสริมการกีฬาเพื่อพัฒนาสู่ระดับอาชีพ โดยมุ่งการสร้างและพัฒนา นักกีฬาของชาติการเฟ้นหานักกีฬาที่มีความสามารถ สร้างพื้นที่และโอกาสในการแข่งขันแสดงศักยภาพ ด้านกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา การส่งเสริมการจัดกีฬาระดับนานาชาติ และสร้างแรงบันดาลใจในการต่อยอดความสําเร็จจากความเป็นเลิศสู่การประกอบอาชีพและมีเส้นทาง อาชีพที่มั่นคง ควบคู่กับส่งเสริมสนับสนุนงานวิจัยและนวัตกรรมด้านการกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา การจัดการความรู้และพัฒนาระบบฐานข้อมูล เพื่อนํามาใช้ส่งเสริมและ สนับสนุนกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ กีฬาเพื่อการอาชีพ และนันทนาการเชิงพาณิชย์ 4.7.4 การพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬาและนันทนาการเพื่อรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมกีฬา โดยมุ่งสร้างและพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬาและนันทนาการทั้งครูหรือผู้สอนกีฬา ผู้ตัดสินกีฬา นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ผู้บริหารการกีฬา อาสาสมัครกีฬา ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ อย่างเป็นระบบและมีมาตรฐาน สามารถถ่ายทอดความรู้ให้เด็ก เยาวชน ประชาชนทั่วไป บุคคล กลุ่มพิเศษ และผู้ด้อยโอกาสได้อย่างถูกต้อง และสามารถต่อยอดศักยภาพในการพัฒนาเป็นบุคลากร ทางการกีฬาและนันทนาการที่มีมาตรฐานของประเทศ รวมทั้งสนับสนุนและเสริมศักยภาพรองรับ การเติบโตของอุตสาหกรรมกีฬาและนันทนาการและการพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางการลงทุน และฐานการผลิตด้านอุตสาหกรรมกีฬาของภูมิภาคเอเชียควบคู่กับการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงกีฬา และนันทนาการ การสนับสนุนและส่งเสริมการผลิตบุคลากร และการพัฒนานวัตกรรมที่สนับสนุน อุตสาหกรรมกีฬาและนันทนาการ ตลอดจนมีมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนผู้ประกอบการกีฬา และนันทนาการ และธุรกิจที่เกี่ยวข้อง
ดังนั้น เพื่อการดำเนินกิจกรรมสอดคล้อง ตามข้อ 4.7 การเสริมสร้างศักยภาพการกีฬาในการสร้างคุณค่าทางสังคมและพัฒนาประเทศ ชมรมจึงร่างโครงการส่งเสริมสุขภาพให้เด็กและเยาวชนออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง รวมถึงเป็นการดูแลรักษาสุขภาพเป็นเบื้องต้นในการป้องกันโรคต่างๆ เป็นการส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรงปลอดโรค ห่างไกลจากยาเสพติด ใช้เวลาว่างเพื่อร่วมกันการออกกำลังกาย และเพิ่มความเข้มแข็ง ความสามัคคีให้เด็กและเยาวชนอีกทางหนึ่ง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาวะร่างกายของกลุ่มเยาวชน
- เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเยาวชนได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย
- เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในกลุ่มเยาวชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมวางแผน
- รณรงค์ประชาสัมพันธ์โครงการ
- รับสมัครและทำทะเบียนผู้ร่วมโครงการ
- อบรมเชิงปฏิบัติการ
- ฝึกทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอลและมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
15
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กและเยาวชนได้รับการสร้างเสริมสุขภาวะร่างกาย
- เด็กและเยาวชนได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย
- เด็กและเยาวชนมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บอันไม่พึงปรารถนา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาวะร่างกายของกลุ่มเยาวชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 กลุ่มเยาวชน มีสุขภาพที่ดีทั้งทางร่างกายและจิตใจ
2
เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเยาวชนได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 กลุ่มเยาวชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการด้วยการเล่นกีฬาอย่างสม่ำเสมอ
3
เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในกลุ่มเยาวชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 30 ของเยาวชน มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
15
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
15
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาวะร่างกายของกลุ่มเยาวชน (2) เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเยาวชนได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย (3) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในกลุ่มเยาวชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผน (2) รณรงค์ประชาสัมพันธ์โครงการ (3) รับสมัครและทำทะเบียนผู้ร่วมโครงการ (4) อบรมเชิงปฏิบัติการ (5) ฝึกทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอลและมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน ห่างไกลยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 - L5194 - 2 - 10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอิสแมน เหมหมัด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน ห่างไกลยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล ”
ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายอิสแมน เหมหมัด
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 - L5194 - 2 - 10 เลขที่ข้อตกลง 10/68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน ห่างไกลยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสะกอม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน ห่างไกลยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน ห่างไกลยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68 - L5194 - 2 - 10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสะกอม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
ตามประกาศยุทธศาสตร์ชาติ ข้อ 4.7 การเสริมสร้างศักยภาพการกีฬาในการสร้างคุณค่าทางสังคมและพัฒนาประเทศ โดยมุ่งส่งเสริมการใช้กิจกรรมนันทนาการและกีฬาเป็นเครื่องมือในการเสริมสร้างสุขภาวะของประชาชน อย่างครบวงจรและมีคุณภาพมาตรฐาน การสร้างนิสัยรักกีฬาและมีน้ำใจเป็นนักกีฬา และการใช้กีฬา และนันทนาการในการพัฒนาจิตใจ สร้างความสามัคคีของคนในชาติหล่อหลอมการเป็นพลเมืองดี พัฒนาคุณภาพชีวิต รวมทั้งการพัฒนาทักษะด้านกีฬาสู่ความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพในระดับ นานาชาติในการสร้างชื่อเสียงและเกียรติภูมิของประเทศชาติเพื่อรองรับอุตสาหกรรมกีฬา 4.7.1 การส่งเสริมการออกกําลังกาย และกีฬาขั้นพื้นฐานให้กลายเป็นวิถีชีวิต โดยส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน ประชาชนทั่วไป บุคคลกลุ่มพิเศษ และผู้ด้อยโอกาส มีความรู้ความเข้าใจ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการออกกําลังกาย การปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการเล่นกีฬาบางชนิดที่มี ความจําเป็นต่อทักษะในการดํารงชีวิต รวมทั้งการมีอิสระในการประกอบกิจกรรมนันทนาการตามความ ถนัดหรือความสนใจเฉพาะบุคคล และปฏิบัติอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็นวิถีชีวิต เพื่อพัฒนาจิตใจ สร้างความสัมพันธ์อันดีหล่อหลอมจิตวิญญาณและการเป็นพลเมืองดี 4.7.2 การส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมออกกําลังกาย กีฬา และนันทนาการ โดยเน้นการจัดกิจกรรมกีฬา สร้างโอกาสและสนับสนุนการมีส่วนร่วมในกิจกรรมกีฬา อย่างต่อเนื่อง การปลูกฝังให้มีคุณธรรมของความเป็นนักกีฬา มีระเบียบ วินัย รู้แพ้รู้ชนะ รู้อภัย และรู้จักการขอโทษ รวมถึงการพัฒนาบุคลากรและโครงสร้างพื้นฐาน ด้านอุปกรณ์สถานที่ และสิ่งอํานวยความสะดวกทางกีฬาและนันทนาการที่มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับความ ต้องการและเหมาะสมกับประชาชนทุกกลุ่ม ทุกเพศ ทุกวัย 4.7.3 การส่งเสริมการกีฬาเพื่อพัฒนาสู่ระดับอาชีพ โดยมุ่งการสร้างและพัฒนา นักกีฬาของชาติการเฟ้นหานักกีฬาที่มีความสามารถ สร้างพื้นที่และโอกาสในการแข่งขันแสดงศักยภาพ ด้านกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา การส่งเสริมการจัดกีฬาระดับนานาชาติ และสร้างแรงบันดาลใจในการต่อยอดความสําเร็จจากความเป็นเลิศสู่การประกอบอาชีพและมีเส้นทาง อาชีพที่มั่นคง ควบคู่กับส่งเสริมสนับสนุนงานวิจัยและนวัตกรรมด้านการกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา การจัดการความรู้และพัฒนาระบบฐานข้อมูล เพื่อนํามาใช้ส่งเสริมและ สนับสนุนกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ กีฬาเพื่อการอาชีพ และนันทนาการเชิงพาณิชย์ 4.7.4 การพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬาและนันทนาการเพื่อรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมกีฬา โดยมุ่งสร้างและพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬาและนันทนาการทั้งครูหรือผู้สอนกีฬา ผู้ตัดสินกีฬา นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ผู้บริหารการกีฬา อาสาสมัครกีฬา ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ อย่างเป็นระบบและมีมาตรฐาน สามารถถ่ายทอดความรู้ให้เด็ก เยาวชน ประชาชนทั่วไป บุคคล กลุ่มพิเศษ และผู้ด้อยโอกาสได้อย่างถูกต้อง และสามารถต่อยอดศักยภาพในการพัฒนาเป็นบุคลากร ทางการกีฬาและนันทนาการที่มีมาตรฐานของประเทศ รวมทั้งสนับสนุนและเสริมศักยภาพรองรับ การเติบโตของอุตสาหกรรมกีฬาและนันทนาการและการพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางการลงทุน และฐานการผลิตด้านอุตสาหกรรมกีฬาของภูมิภาคเอเชียควบคู่กับการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงกีฬา และนันทนาการ การสนับสนุนและส่งเสริมการผลิตบุคลากร และการพัฒนานวัตกรรมที่สนับสนุน อุตสาหกรรมกีฬาและนันทนาการ ตลอดจนมีมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนผู้ประกอบการกีฬา และนันทนาการ และธุรกิจที่เกี่ยวข้อง
ดังนั้น เพื่อการดำเนินกิจกรรมสอดคล้อง ตามข้อ 4.7 การเสริมสร้างศักยภาพการกีฬาในการสร้างคุณค่าทางสังคมและพัฒนาประเทศ ชมรมจึงร่างโครงการส่งเสริมสุขภาพให้เด็กและเยาวชนออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง รวมถึงเป็นการดูแลรักษาสุขภาพเป็นเบื้องต้นในการป้องกันโรคต่างๆ เป็นการส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรงปลอดโรค ห่างไกลจากยาเสพติด ใช้เวลาว่างเพื่อร่วมกันการออกกำลังกาย และเพิ่มความเข้มแข็ง ความสามัคคีให้เด็กและเยาวชนอีกทางหนึ่ง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาวะร่างกายของกลุ่มเยาวชน
- เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเยาวชนได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย
- เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในกลุ่มเยาวชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมวางแผน
- รณรงค์ประชาสัมพันธ์โครงการ
- รับสมัครและทำทะเบียนผู้ร่วมโครงการ
- อบรมเชิงปฏิบัติการ
- ฝึกทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอลและมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 15 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กและเยาวชนได้รับการสร้างเสริมสุขภาวะร่างกาย
- เด็กและเยาวชนได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย
- เด็กและเยาวชนมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บอันไม่พึงปรารถนา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาวะร่างกายของกลุ่มเยาวชน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 กลุ่มเยาวชน มีสุขภาพที่ดีทั้งทางร่างกายและจิตใจ |
|
|||
2 | เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเยาวชนได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 กลุ่มเยาวชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการด้วยการเล่นกีฬาอย่างสม่ำเสมอ |
|
|||
3 | เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในกลุ่มเยาวชน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 30 ของเยาวชน มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 15 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 15 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาวะร่างกายของกลุ่มเยาวชน (2) เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเยาวชนได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย (3) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในกลุ่มเยาวชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผน (2) รณรงค์ประชาสัมพันธ์โครงการ (3) รับสมัครและทำทะเบียนผู้ร่วมโครงการ (4) อบรมเชิงปฏิบัติการ (5) ฝึกทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอลและมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน ห่างไกลยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 - L5194 - 2 - 10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอิสแมน เหมหมัด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......