โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากสำหรับเด็กปฐมวัย ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปากบางสะกอมประจำปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากสำหรับเด็กปฐมวัย ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปากบางสะกอมประจำปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | 68 - L5194 – 3 - 3 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปากบางสะกอม |
วันที่อนุมัติ | 20 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 20 ธันวาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 15 สิงหาคม 2568 |
งบประมาณ | 5,670.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางเสาวณี สันสะแหละ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.88,100.818place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 33 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันความรุนแรงของโรคฟันผุของเด็กไทยรุนแรงขึ้น ทุกปีเนื่องจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้องเพราะผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กยังไม่เห็นความสำคัญใน เรื่องการดูแลอนามัยในช่องปาก ซึ่งปัญหานี้จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อเด็กในหลาย ๆ ด้านทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ และเศรษฐกิจ ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อการศึกษาของเด็กด้วยสุขภาพอนามัยที่ดี เป็นองค์ประกอบที่สำคัญ และจำเป็นของชีวิตเด็กเป็นทรัพยากรที่มีค่ายิ่งของสังคม ทั้งนี้ความเจริญของสังคมย่อมขึ้นกับประสิทธิภาพของเด็กที่จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ต่อไปการที่เด็กมีสุขภาพที่ดีจะเป็นกำลังสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน“ ทันตสุขภาพ” เป็นส่วนหนึ่งของสุขภาพอนามัยการที่มีทันตสุขภาพที่ดีปราศจากโรคในช่องปากฟันทำหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์จะส่งผลให้มีสุขภาพอนามัยที่ดีด้วยเด็กก่อนวัยเรียน (3-5 ปี) เป็นวัยที่มีฟันน้ำนมขึ้นมาครบทุกซี่แล้วโรคในช่องปากที่เป็นปัญหาของเด็กในวัยนี้คือโรคฟันผุการสูญเสียฟันน้ำนมก่อนกำหนดมีผลเสียต่อบุคลิกภาพการบดเคี้ยวการเจริญเติบโต ของขากรรไกรตลอดจนการเรียงตัวของฟันถาวรที่จะขึ้นมาแทนที่ก็จะมีผลกระทบต่ออนามัยในช่องปากของเด็กนอกจากนี้ ปัจจัยของการเกิดปัญหาโรคฟันผุของเด็กก่อนวัยเรียนคือผู้ปกครองซึ่งเป็นผู้ที่มีบทบาทที่สำคัญ ต่อการดูแลสุขภาพช่องปากการส่งเสริมให้ผู้ปกครอง มีความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากของลูกอย่างสม่ำเสมอจึงมีความสำคัญ และสามารถลดปัญหาที่เกิดขึ้นตามมา
ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปากบางสะกอม สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ได้ตำหนักถึงความสำคัญของสุขภาพช่องปากของเด็ก จึงจัดทำโครงการโครงการส่งเสริมสุขภาพ
ช่องปากสำหรับเด็กปฐมวัย ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปากบางสะกอม ประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้นเพื่อให้เด็ก คณะครู และผู้ปกครอง มีความรู้ในเรื่องของการดูแลสุขภาพช่องปากตลอดจน มีความรู้เรื่องโภชนาการทางทันตสุขภาพทั้งยังเป็นการ ลดและป้องกันไม่ให้เกิดโรคที่เป็นปัญหาตามมา
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้เด็กรู้จักดูแลรักษาสุขภาพช่องปากของตนได้อย่างถูกวิธีและเหมาะสมตามวัย ร้อยละ 90 ของเด็ก รู้จักดูแลรักษาสุขภาพช่องปากของตนได้อย่างถูกวิธีและเหมาะสมตามวัย |
||
2 | เพื่อให้เด็ก คณะครู และผู้ปกครอง มีความรู้ในเรื่องของการดูแลสุขภาพช่องปากตลอดจนมีความรู้เรื่องโภชนาการทางทันตสุขภาพ ร้อยละ 90 ของผู้ปกครองมี ความรู้ในเรื่องของการดูแลสุขภาพช่องปากตลอดจนมีความรู้เรื่องโภชนาการทางทันตสุขภาพ |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อส่งเสริมให้เด็กรู้จักดูแลรักษาสุขภาพช่องปากของตนได้อย่างถูกวิธีและเหมาะสมตามวัย |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อให้เด็ก คณะครู และผู้ปกครอง มีความรู้ในเรื่องของการดูแลสุขภาพช่องปากตลอดจนมีความรู้เรื่องโภชนาการทางทันตสุขภาพ |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
ไม่ระบุวัตถุประสงค์ |
||||||
26 พ.ค. 68 | กิจกรรมอบรมให้ความรู้ | 63.00 | 5,670.00 | - |
หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้
- เด็กรู้จักดูแลรักษาสุขภาพช่องปากของตนได้อย่างถูกวิธีและเหมาะสมตามวัย
- เด็ก คณะครู และผู้ปกครอง มีความรู้ในเรื่องของการดูแลสุขภาพช่องปากตลอดจนมีความรู้เรื่องโภชนาการทางทันตสุขภาพ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 ก.พ. 2568 15:57 น.