โครงการเพิ่มทักษะและส่งเสริมสุขภาพระหว่างวัยด้วยกีฬาฟุตบอล
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเพิ่มทักษะและส่งเสริมสุขภาพระหว่างวัยด้วยกีฬาฟุตบอล ”
ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายวุทธิชัย ยะมันยะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสะกอม
มิถุนายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มทักษะและส่งเสริมสุขภาพระหว่างวัยด้วยกีฬาฟุตบอล
ที่อยู่ ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 – L5194 – 2 - 12 เลขที่ข้อตกลง 15/68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 พฤษภาคม 2568 ถึง 3 มิถุนายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเพิ่มทักษะและส่งเสริมสุขภาพระหว่างวัยด้วยกีฬาฟุตบอล จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสะกอม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเพิ่มทักษะและส่งเสริมสุขภาพระหว่างวัยด้วยกีฬาฟุตบอล
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเพิ่มทักษะและส่งเสริมสุขภาพระหว่างวัยด้วยกีฬาฟุตบอล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68 – L5194 – 2 - 12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 พฤษภาคม 2568 - 3 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสะกอม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
ด้วยชมรมอะคาเดมี่เยาวชนฟุตบอลตำบลสะกอม มีเยาวชนของชมรมฯ ประมาณกว่า40คนมีกรรมการควบคุมดูแล 5 คน รวม 45 คน โดยเยาวชนที่กำลังเข้าสู่วัยแห่งการเรียนรู้เพิ่มทักษะต่างๆ เช่น การฝึกฝนให้รักในการเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ การออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ การฝึกทักษะการเล่นฟุตบอลที่ถูกต้อง เป็นต้น เยาวชนและวัยคนทำงาน จะเห็นได้ว่า สังคมในโลกโซเชียวเป็นตัวแปรหลักที่ทำให้เยาวชนและคนทำงานเปลี่ยนไป เช่น การให้เวลาของการท่องโลกโซเชียวมากขึ้น การเล่นเกมส์ การดู You tube ต่างๆเหล่านี้ ล้วนแล้วแต่จะทำให้เยาวชนลืมการเล่นกีฬาโดยสิ้นเชิง และจะก่อเกิดโรคภัยต่างๆตามมา เช่น โรคซึมเศร้า สมาธิสั้น เป็นต้น ซึ่งตามนโยบายหลักของชมรมฯ ของเรา ข้อที่ สาม ว่าด้วย “เล่นกีฬาเพื่อป้องกันห่างไกลจากการเล่นโทรศัพท์มือถือ” นโยบายนี้ ได้ตั้งปณิทานไว้เพื่อให้สัญญากับเยาวชนว่า เราทุกคนจะต้องห่างไกลจากสิ่งไม่ดี แบบอย่างที่ไม่ดีที่อยู่ในโทรศัพท์ โดยหันมาเล่นกีฬาแทนด้วยกีฬาฟุตบอลเพื่อลดเวลาว่างที่จะไปนึกถึงหรือยุ่งกับเรื่องเหล่านั้นอีก นี่คือคำมั่นสัญญาที่ได้ตั้งไว้กับเยาวชนในชมรมฯ ตลอดมา
อนึ่ง ในโครงการพัฒนาทักษะเสริมสร้างสุขภาพระหว่างวัยด้วยกีฬาฟุตบอล ถือเป็นกิจกรรมหนึ่งที่ต่อยอดจากร่วมกันคิดของกรรมการชมรมฯ กล่าวคือ นั้นเป็นการนำกีฬาฟุตบอลเป็นตัวกลางและเชื่อมสานสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนและวัยคนทำงานหรือวัยอาวุโสที่สนใจทางด้านกีฬาฟุตบอลและหลังจากเวลางานประจำแล้วเพื่อเป็นการผ่อนคลายจากการทำงานและเพื่อให้เวลากับร่างกายในการออกกำลังกายพร้อมทั้งได้พบปะพูดคุยกับเยาวชนในทุกๆเรื่องที่เยาวชนมีปัญหา ไม่มีทางออกหรือต้องการให้การสนับสนุนในเรื่องใดๆ ที่ไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับเรื่องไร้สาระต่างๆ เช่น ยาเสพติด การขับรถซิ่ง การเล่นเกมส์ เป็นต้น
เพราะฉะนั้น การได้ร่วมกันระหว่างวัยที่มีกีฬาฟุตบอลเป็นตัวเชื่อม คาดว่าเป็นการลดช่องว่างของกลุ่มวัยรุ่นที่กำลังหลงผิดให้ได้เข้ามาสู่กลุ่มหรือสังคมที่มีเยาวชนคนทำงานหรือวัยอาวุโสเป็นแบบอย่างที่ได้มาร่วมกันฝึกฝนทักษะในการเล่นกีฬาฟุตบอลเพื่อสุขภาพของกลุ่มและคนในชุมชนให้ใช้ชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ต้องการให้เยาวชนในชมรม ฯ วัยรุ่น วัยคนทำงาน ได้จัดสรรเวลามาออกกำลังกายด้วยการเล่นกีฬาฟุตบอลมากขึ้น
- เพื่อให้เยาวชนปลอดภัยจากพิษภัยจากยาเสพติดและอบายมุขทั้งมวล
- เพื่อต้องการให้เยาวชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บทั้งหลาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมวางแผน
- ประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรม
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- สรุปผลการดำเนินงานโครงการและรายงานผล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
5
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ทำให้เยาวชนในชมรม ฯ และประชาชนทั่วไป พัฒนาร่างกายให้แข็งแรงตามช่วงอายุวัยและรู้จักแบ่งเวลาของตัวเองในแต่ละวัน
2.ทำให้เกิดภูมิคุ้มกันแก่เยาวชนรุ่นใหม่ให้ห่างไกลจาก อบายมุขและยาเสพติดทั้งปวง
3.การเพิ่มทักษะกีฬาฟุตบอลจะทำให้เกิดภูมิต้านทานจากโรคภัยไข้เจ็บและเพิ่มสมรรถภาพของร่างกายและจิตใจให้ดีขึ้น
4.ทำให้เยาวชนและวัยคนทำงาน(อาวุโส)เกิดความรัก ความสามัคคีในกลุ่ม ชุมชน และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์สูงสุด
5.เกิดเป็นกิจกรรมต้นแบบที่ดีให้เยาวชนรุ่นต่อไปได้สืบสานกิจกรรมที่ดีๆ จากรุ่นสู่รุ่น
6.สร้างให้เยาวชนที่มีพรสวรรค์ในกีฬาฟุตบอลส่งเสริมผลักดันสู่การเล่นกีฬาฟุตบอลอาชีพตามความฝันของเยาวชนในอนาคตต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ต้องการให้เยาวชนในชมรม ฯ วัยรุ่น วัยคนทำงาน ได้จัดสรรเวลามาออกกำลังกายด้วยการเล่นกีฬาฟุตบอลมากขึ้น
ตัวชี้วัด : มีเยาวชนและคนวัยทำงานออกมาเล่นกีฬา 100 %
2
เพื่อให้เยาวชนปลอดภัยจากพิษภัยจากยาเสพติดและอบายมุขทั้งมวล
ตัวชี้วัด : เยาวชนหันหลังจากยาเสพติด 100 %
3
เพื่อต้องการให้เยาวชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บทั้งหลาย
ตัวชี้วัด : เยาวชน 50 คน วัดโดยการวิ่งเพื่อดูการหายใจของนักกีฬา ผลสมบูรณ์ 99 %
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
45
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
5
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ต้องการให้เยาวชนในชมรม ฯ วัยรุ่น วัยคนทำงาน ได้จัดสรรเวลามาออกกำลังกายด้วยการเล่นกีฬาฟุตบอลมากขึ้น (2) เพื่อให้เยาวชนปลอดภัยจากพิษภัยจากยาเสพติดและอบายมุขทั้งมวล (3) เพื่อต้องการให้เยาวชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บทั้งหลาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผน (2) ประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรม (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (4) สรุปผลการดำเนินงานโครงการและรายงานผล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเพิ่มทักษะและส่งเสริมสุขภาพระหว่างวัยด้วยกีฬาฟุตบอล จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 – L5194 – 2 - 12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายวุทธิชัย ยะมันยะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเพิ่มทักษะและส่งเสริมสุขภาพระหว่างวัยด้วยกีฬาฟุตบอล ”
ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายวุทธิชัย ยะมันยะ
มิถุนายน 2568
ที่อยู่ ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 – L5194 – 2 - 12 เลขที่ข้อตกลง 15/68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 พฤษภาคม 2568 ถึง 3 มิถุนายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเพิ่มทักษะและส่งเสริมสุขภาพระหว่างวัยด้วยกีฬาฟุตบอล จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสะกอม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเพิ่มทักษะและส่งเสริมสุขภาพระหว่างวัยด้วยกีฬาฟุตบอล
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเพิ่มทักษะและส่งเสริมสุขภาพระหว่างวัยด้วยกีฬาฟุตบอล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68 – L5194 – 2 - 12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 พฤษภาคม 2568 - 3 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสะกอม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
ด้วยชมรมอะคาเดมี่เยาวชนฟุตบอลตำบลสะกอม มีเยาวชนของชมรมฯ ประมาณกว่า40คนมีกรรมการควบคุมดูแล 5 คน รวม 45 คน โดยเยาวชนที่กำลังเข้าสู่วัยแห่งการเรียนรู้เพิ่มทักษะต่างๆ เช่น การฝึกฝนให้รักในการเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ การออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ การฝึกทักษะการเล่นฟุตบอลที่ถูกต้อง เป็นต้น เยาวชนและวัยคนทำงาน จะเห็นได้ว่า สังคมในโลกโซเชียวเป็นตัวแปรหลักที่ทำให้เยาวชนและคนทำงานเปลี่ยนไป เช่น การให้เวลาของการท่องโลกโซเชียวมากขึ้น การเล่นเกมส์ การดู You tube ต่างๆเหล่านี้ ล้วนแล้วแต่จะทำให้เยาวชนลืมการเล่นกีฬาโดยสิ้นเชิง และจะก่อเกิดโรคภัยต่างๆตามมา เช่น โรคซึมเศร้า สมาธิสั้น เป็นต้น ซึ่งตามนโยบายหลักของชมรมฯ ของเรา ข้อที่ สาม ว่าด้วย “เล่นกีฬาเพื่อป้องกันห่างไกลจากการเล่นโทรศัพท์มือถือ” นโยบายนี้ ได้ตั้งปณิทานไว้เพื่อให้สัญญากับเยาวชนว่า เราทุกคนจะต้องห่างไกลจากสิ่งไม่ดี แบบอย่างที่ไม่ดีที่อยู่ในโทรศัพท์ โดยหันมาเล่นกีฬาแทนด้วยกีฬาฟุตบอลเพื่อลดเวลาว่างที่จะไปนึกถึงหรือยุ่งกับเรื่องเหล่านั้นอีก นี่คือคำมั่นสัญญาที่ได้ตั้งไว้กับเยาวชนในชมรมฯ ตลอดมา
อนึ่ง ในโครงการพัฒนาทักษะเสริมสร้างสุขภาพระหว่างวัยด้วยกีฬาฟุตบอล ถือเป็นกิจกรรมหนึ่งที่ต่อยอดจากร่วมกันคิดของกรรมการชมรมฯ กล่าวคือ นั้นเป็นการนำกีฬาฟุตบอลเป็นตัวกลางและเชื่อมสานสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนและวัยคนทำงานหรือวัยอาวุโสที่สนใจทางด้านกีฬาฟุตบอลและหลังจากเวลางานประจำแล้วเพื่อเป็นการผ่อนคลายจากการทำงานและเพื่อให้เวลากับร่างกายในการออกกำลังกายพร้อมทั้งได้พบปะพูดคุยกับเยาวชนในทุกๆเรื่องที่เยาวชนมีปัญหา ไม่มีทางออกหรือต้องการให้การสนับสนุนในเรื่องใดๆ ที่ไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับเรื่องไร้สาระต่างๆ เช่น ยาเสพติด การขับรถซิ่ง การเล่นเกมส์ เป็นต้น
เพราะฉะนั้น การได้ร่วมกันระหว่างวัยที่มีกีฬาฟุตบอลเป็นตัวเชื่อม คาดว่าเป็นการลดช่องว่างของกลุ่มวัยรุ่นที่กำลังหลงผิดให้ได้เข้ามาสู่กลุ่มหรือสังคมที่มีเยาวชนคนทำงานหรือวัยอาวุโสเป็นแบบอย่างที่ได้มาร่วมกันฝึกฝนทักษะในการเล่นกีฬาฟุตบอลเพื่อสุขภาพของกลุ่มและคนในชุมชนให้ใช้ชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ต้องการให้เยาวชนในชมรม ฯ วัยรุ่น วัยคนทำงาน ได้จัดสรรเวลามาออกกำลังกายด้วยการเล่นกีฬาฟุตบอลมากขึ้น
- เพื่อให้เยาวชนปลอดภัยจากพิษภัยจากยาเสพติดและอบายมุขทั้งมวล
- เพื่อต้องการให้เยาวชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บทั้งหลาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมวางแผน
- ประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรม
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- สรุปผลการดำเนินงานโครงการและรายงานผล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 5 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ทำให้เยาวชนในชมรม ฯ และประชาชนทั่วไป พัฒนาร่างกายให้แข็งแรงตามช่วงอายุวัยและรู้จักแบ่งเวลาของตัวเองในแต่ละวัน 2.ทำให้เกิดภูมิคุ้มกันแก่เยาวชนรุ่นใหม่ให้ห่างไกลจาก อบายมุขและยาเสพติดทั้งปวง 3.การเพิ่มทักษะกีฬาฟุตบอลจะทำให้เกิดภูมิต้านทานจากโรคภัยไข้เจ็บและเพิ่มสมรรถภาพของร่างกายและจิตใจให้ดีขึ้น 4.ทำให้เยาวชนและวัยคนทำงาน(อาวุโส)เกิดความรัก ความสามัคคีในกลุ่ม ชุมชน และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์สูงสุด 5.เกิดเป็นกิจกรรมต้นแบบที่ดีให้เยาวชนรุ่นต่อไปได้สืบสานกิจกรรมที่ดีๆ จากรุ่นสู่รุ่น 6.สร้างให้เยาวชนที่มีพรสวรรค์ในกีฬาฟุตบอลส่งเสริมผลักดันสู่การเล่นกีฬาฟุตบอลอาชีพตามความฝันของเยาวชนในอนาคตต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ต้องการให้เยาวชนในชมรม ฯ วัยรุ่น วัยคนทำงาน ได้จัดสรรเวลามาออกกำลังกายด้วยการเล่นกีฬาฟุตบอลมากขึ้น ตัวชี้วัด : มีเยาวชนและคนวัยทำงานออกมาเล่นกีฬา 100 % |
|
|||
2 | เพื่อให้เยาวชนปลอดภัยจากพิษภัยจากยาเสพติดและอบายมุขทั้งมวล ตัวชี้วัด : เยาวชนหันหลังจากยาเสพติด 100 % |
|
|||
3 | เพื่อต้องการให้เยาวชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บทั้งหลาย ตัวชี้วัด : เยาวชน 50 คน วัดโดยการวิ่งเพื่อดูการหายใจของนักกีฬา ผลสมบูรณ์ 99 % |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 45 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 5 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ต้องการให้เยาวชนในชมรม ฯ วัยรุ่น วัยคนทำงาน ได้จัดสรรเวลามาออกกำลังกายด้วยการเล่นกีฬาฟุตบอลมากขึ้น (2) เพื่อให้เยาวชนปลอดภัยจากพิษภัยจากยาเสพติดและอบายมุขทั้งมวล (3) เพื่อต้องการให้เยาวชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บทั้งหลาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผน (2) ประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรม (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (4) สรุปผลการดำเนินงานโครงการและรายงานผล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเพิ่มทักษะและส่งเสริมสุขภาพระหว่างวัยด้วยกีฬาฟุตบอล จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 – L5194 – 2 - 12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายวุทธิชัย ยะมันยะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......