กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคที่เกิดในฤดูร้อน โรคลมร้อนหรือโรคลมแดด (heat stroke) ”
ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสาวมีล๊ะ ตาปู




ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคที่เกิดในฤดูร้อน โรคลมร้อนหรือโรคลมแดด (heat stroke)

ที่อยู่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2502-2-09 เลขที่ข้อตกลง 2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 31 มีนาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันโรคที่เกิดในฤดูร้อน โรคลมร้อนหรือโรคลมแดด (heat stroke) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันโรคที่เกิดในฤดูร้อน โรคลมร้อนหรือโรคลมแดด (heat stroke)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันโรคที่เกิดในฤดูร้อน โรคลมร้อนหรือโรคลมแดด (heat stroke) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2502-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 31 มีนาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข ห่วงประชาชนเสี่ยงต่อการป่วยจากภาวะอากาศร้อนในปีที่ผ่านมา มีรายงานการเจ็บป่วย 10 ราย เสียชีวิต 37 ราย พบมากสุดในเดือนเมษายน พร้อมแนะนำ การป้องกัน โรคลมร้อน หรือ ฮีทสโตรก (Heatstroke) สำหรับคนที่ทำงานกลางแจ้ง ประเทศไทยได้เข้าสู่ฤดูร้อน ในหลายพื้นที่จึงมีอากาศร้อนอบอ้าว และค่าดัชนีความร้อนเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งกรมอุตุฯ คาดการณ์ว่าอุณหภูมิปีนี้จะสูงขึ้นกว่าปีก่อน อาจสูงถึง 44.5 องศาเซลเซียส ทำให้ประชาชนเสี่ยงต่อการป่วย จากภาวะอากาศร้อนได้ง่ายขึ้น โดยเฉพาะโรคลมร้อน หรือ ฮีทสโตรก (Heatstroke) ที่เกิดจากภาวะที่ร่างกายร้อนจัดจนส่งผลกระทบต่อระบบต่างๆ ในร่างกาย และเป็นอันตรายถึงขั้นเสียชีวิตได้ โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง  และผู้ที่ต้องอยู่กลางแจ้งเป็นเวลานาน (ข้อมูล : พญ.จุไร วงศ์สวัสดิ์ นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ และโฆษกกรมควบคุมโรค)
จากข้อมูลกองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ในช่วงปี พ.ศ. 2561–7 พฤษภาคม 2567 มีรายงานการเสียชีวิตที่เกี่ยวเนื่องกับภาวะอากาศร้อน รวมทั้งสิ้น 200 ราย เฉพาะปี พ.ศ. 2567 มีรายงานผู้เสียชีวิต 61 ราย มีการรายงานเหตุการณ์จากทุกภาคทั่วประเทศ แต่มีรายงานสูงสุดในพื้นที่ตะวันออกเฉียงเหนือ 33 ราย ตามมาด้วยภาคกลางและภาคตะวันตก 13 ราย และภาคเหนือ 10 ราย ผู้เสียชีวิตส่วนใหญ่อายุอยู่ในช่วงวัยทำงานและสูงอายุ เพศชายมากกว่าเพศหญิง ส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้าง และเกษตรกรรม โดยมีปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เสียชีวิต คือ ร้อยละ 49.2 มีโรคประจำตัว, ร้อยละ 62.1 ดื่มสุราเป็นประจำ,ร้อยละ 27.6 ทำงานกลางแจ้ง กลุ่มที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษ คือ เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ (ประมาณ 10 ล้านคนทั่วประเทศ) คนอ้วน (ประมาณ 13 ล้านคนทั่วประเทศ) และผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคหัวใจ เบาหวาน  ความดันโลหิตสูง ตลอดจนผู้ที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ นักกีฬา คนงานก่อสร้าง เกษตรกร หรือทหารที่ต้องทำกิจกรรมกลางแจ้งเป็นเวลานาน โรคลมร้อน หรือ ฮีทสโตรก (Heatstroke) นี้ เกิดขึ้นเมื่อร่างกายมีอุณหภูมิความร้อนสูงมาก โดยเฉพาะที่มากกว่า 40 องศาเซลเซียส จนทำให้ร่างกายไม่สามารถปรับตัวได้มีอาการ คือ ตัวร้อน วิงเวียน ปวดมึนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย ภาวะขาดน้ำ เหงื่อออกมาก หัวใจเต้นแรง เป็นลมอาจมีอาการทางระบบประสาท เช่น ชัก พูดจาสับสนได้ หากพบผู้เริ่มมีอาการดังกล่าวขอให้รีบนำผู้ป่วย เข้าที่ร่มหรือห้องที่มีความเย็น และให้ดื่มน้ำมากๆ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ให้ผู้ป่วยนอนราบ คลายเสื้อผ้า ให้หลวมใช้ผ้าชุบน้ำเย็นเช็ดตามตัว ซอกคอ รักแร้ และศีรษะ ร่วมกับใช้พัดลมเป่าระบายความร้อน หากผู้ป่วยหมดสติ ให้จับนอนตะแคงเพื่อป้องกันไม่ให้โคนลิ้นอุดตันทางเดินหายใจและให้รีบนำส่งโรงพยาบาล ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการรณรงค์ป้องกันโรคที่เกิดในฤดูร้อน โรคลมร้อนหรือโรคลมแดด (heat stroke) ช่วงฤดูร้อน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดกับประชาชนในพื้นที่และให้ประชาชาชนในพื้นที่ได้รู้จักป้องกัน เตรียมรับมือปรับกับสภาพอากาศฤดูร้อนได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจ วิธีป้องกันโรคที่เกิดในฤดูร้อน โรคลมร้อน หรือโรคลมแดด (heat stroke)
  2. เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดกับประชาชนในพื้นที่ และให้ประชาชาชนในพื้นที่ได้รู้จักป้องกัน เตรียมรับมือปรับกับสภาพอากาศฤดูร้อนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 ประชาชนได้รับความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคและสามารถนำไปใช้ชีวิตประจำวันได้
    2 ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี และชุมชนเกิดความเข้มแข็งและร่วมในการป้องกันโรคและควบคุมปรับกับสภาพอากาศในฤดูร้อนได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจ วิธีป้องกันโรคที่เกิดในฤดูร้อน โรคลมร้อน หรือโรคลมแดด (heat stroke)
    ตัวชี้วัด : ประชาชนได้รับความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันโรคที่เกิดในฤดูร้อน

     

    2 เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดกับประชาชนในพื้นที่ และให้ประชาชาชนในพื้นที่ได้รู้จักป้องกัน เตรียมรับมือปรับกับสภาพอากาศฤดูร้อนได้
    ตัวชี้วัด : ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี และชุมชนเกิดความเข้มแข็งและร่วม ในการป้องกันได้

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจ วิธีป้องกันโรคที่เกิดในฤดูร้อน โรคลมร้อน หรือโรคลมแดด (heat stroke) (2) เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดกับประชาชนในพื้นที่ และให้ประชาชาชนในพื้นที่ได้รู้จักป้องกัน เตรียมรับมือปรับกับสภาพอากาศฤดูร้อนได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรณรงค์ป้องกันโรคที่เกิดในฤดูร้อน โรคลมร้อนหรือโรคลมแดด (heat stroke) จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 68-L2502-2-09

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวมีล๊ะ ตาปู )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด