โครงการผักดี ชีวีมีสุข ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 4 จังหวัดตรัง หน่วยบริการท่าพญา-ย่านตาขาว
ชื่อโครงการ | โครงการผักดี ชีวีมีสุข ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 4 จังหวัดตรัง หน่วยบริการท่าพญา-ย่านตาขาว |
รหัสโครงการ | 68-L1481-2-07 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 4 จังหวัดตรัง |
วันที่อนุมัติ | 18 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 7,630.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 4 จังหวัดตรัง |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางสาวอังสนา มากมูล |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.354,99.674place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 20 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันนักเรียนที่มีอายุตั้งแต่ 4 – 18 ปี ที่อยู่ในความดูแลของหน่วยบริการท่าพญา-ย่านตาขาว ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 4 จังหวัดตรัง ซึ่งจากการตรวจสุขภาพนักเรียนประจำภาคเรียนนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษส่วนใหญ่ไม่ชอบกินผัก มีนักเรียนบางส่วนที่มีภาวะโภชนาการน้ำหนักและส่วนสูงน้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐาน และบางส่วนมีภาวะโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐานของจำนวนนักเรียนทั้งหมด จึงตระหนักและเห็นความสำคัญของสารอาหารที่นักเรียนควรจะได้รับ จึงได้จัดทำโครงการผักดี ชีวีมีสุข เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูและผู้ดูแลได้เรียนรู้วิธีการแปรรูปผักและผลไม้เห็นคุณค่าของการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ โดยเฉพาะผักและไม้ที่มีสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย นอกจากนี้ เสริมสร้างการประกอบอาชีพในอนาคตได้ หน่วยบริการท่าพญา-ย่านตาขาว ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 4 จังหวัดตรัง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าวข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการ “ผักดี ชีวีมีสุข”ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 4 จังหวัดตรัง หน่วยบริการท่าพญา-ย่านตาขาว ขึ้น เพื่อให้ผู้ปกครอง ครู และผู้ดูแลได้มีความรู้ความเข้าใจตลอดจนนำทักษะ และนำแนวทางดังกล่าวไปใช้ในการส่งเสริมให้นักเรียนบริโภคผักและผลไม้ที่มีประโยชน์ และนำไปประกอบอาชีพของนักเรียนต่อไป
หน่วยบริการท่าพญา-ย่านตาขาว ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 4 จังหวัดตรัง จึงได้จัดทำโครงการผักดี ชีวีมีสุข ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ เกี่ยวกับผักดีมีประโยชน์ ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับผักดีมีประโยชน์ |
||
2 | เพื่อให้ความรู้ วิธีการแปรรูปผักและผลไม้ ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถแปรรูปผักและผลไม้ |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ เกี่ยวกับผักดีมีประโยชน์ |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อให้ความรู้ วิธีการแปรรูปผักและผลไม้ |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้
- เขียนโครงการเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพญา
2. ประสานการจัดโครงการ/จัดหากลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
3. ดำเนินโครงการผักดี ชีวีมีสุข ประกอบไปด้วยกิจกรรม 2 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมการอบรมให้ความรู้
แก่ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กพิการ ครู พี่เลี้ยงประจำอำเภอ หน่วยบริการท่าพญา-ย่านตาขาว โดยมีช่วงเวลาเนื้อหา ในการอบรม 2 เรื่อง ดังนี้
เวลา 09.00 น.– 12.00 น. (1) ให้ความรู้เกี่ยวกับผักดีมีประโยชน์
เวลา 13.00 น.– 16.00 น. (2) กิจกรรมการแปรรูปผักและผลไม้ “ผักกร๊อบกรอบ” - ติดตามประเมินผลหลัง เข้าร่วมโครงการ
- สรุปผลโครงการ และรายงานผล
- ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กพิการ ครู พี่เลี้ยงประจำอำเภอ หน่วยบริการท่าพญา-ย่านตาขาว มีความรู้เกี่ยวกับผักดีมีประโยชน์
- ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กพิการ ครู พี่เลี้ยงประจำอำเภอ หน่วยบริการท่าพญา-ย่านตาขาว สามารถนำไปผักไปแปรรูปและประกอบอาชีพได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 มี.ค. 2568 09:16 น.