กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง


“ โครงการพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย ปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ”

ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอุบลรัตน์เมืองสง

ชื่อโครงการ โครงการพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย ปีงบประมาณ พ.ศ.2561

ที่อยู่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มกราคม 2561 ถึง 17 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย ปีงบประมาณ พ.ศ.2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย ปีงบประมาณ พ.ศ.2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย ปีงบประมาณ พ.ศ.2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 มกราคม 2561 - 17 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 89,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พระราชบัญญัติเทศบาล มารตรการ 50 ภายใต้บังคับแห่งกฏหมายเทบาล มีหน้าที่ต้องทำในเขตเทศบาลดังต่อไปนี้ ข้อ (4) ป้องกันและระวังโรคติดต่อ เทศบาล่ตำบลโคกม่วงจึงตระหนัักถึงความสำคัญของเรื่องนี้ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาโดยการออกพ่นหมอกควันครอบคลุมพื้นที่ที่อยู่ในการดูแลทั้งหมด เพื่อการกำจัดยุง่ลายไม่ให้สามารถแพร่เชื้อหรือขยายพันธุ์ต่อได้อีก ซึ่เงป็นวิธีการยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้อีกทางหนึ่ง โรคไข้เลือดออกถือได้ว่าเป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุข ซึ่งความรุนแรงของโรคสามารถทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ แม้จะมีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกัน ควบคุม ไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรคของภาครัฐและเอกชน อยู่เป็นประจำแต่ไม่สามารให้โรคนี้หมดไปจากสังคงไทยได้ ่การกำจัดยุงลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นอีกวิธีหนึ่งในการยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคได้โดยการพ่นหมอกควัน เทศบาลตำบลโคกม่วงซึ่งดูแลสุขภาพอนามัยประชาชนในพื้นที่และการป้องกัน ดูแลไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรค ปัจจุบันการแพร่ระบาดของโรคเกิดขึ้นได้ทุกฤดูกาล จำเป็นมีการเริ่มดำเนินการให้รวดเร็ว ให้ทันต่อสภาวการณ์แพร่ระบาดของโรค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อกำจัดยุงลายที่เป็นพาหนะนำโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  2. เพื่อควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงในการพ่นหมอกควัน
  2. ค่าจ้างเหมาพ่นหมอกควัน 2 คน
  3. ค่าจัดซื้อน้ำยาพ่นหมอกควัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10,366
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สามารถควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก 2.ลดการระบาดอย่างรุนแรงของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลโคกม่วง 3.ประชาชนมีความเข้าใจให้ความร่วมมือในการควบคุมโรคพ่นหมอกควันเพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายประชาชนในตำบลมีความตระหนักได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงในการพ่นหมอกควัน

วันที่ 3 มกราคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • ครัวเรือน จำนวน 30 ครัวเรือนๆ 2 ครั้ง ครั้งละ 450 บาท เป็นเงิน 27000
  • โรงเรียน จำนวน 6 แห่ง แห่งละ 2 ภาคเรียน 2 ครั้ง ครั้งละ 550 บาท เป็นเงินจำนวน 13200
  • ศพด.จำนวน 4 แห่ง แห่งละ 2 ภาคเรียน 2 ครั้ง ครั้งละ 400 บาท เป็นเงิน 6400 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1. ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 17 ครัวเรือนได้รับการสอบสวนไข้เลือดออกหลังรับแจ้งรายงานโรค 2. ครัวเรือนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 17 ครัวเรือนได้รับการพ่นหมอกควันเพื่อกำจักยุง 3. ครัวเรือนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 17 ครัวเรือนได้รับการตรวจลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุง 4. ครูนักเรียนในโรงเรียนในเขตพื้นที่ทั้ง 6 แห่ง ได้รับการพ่นหมอกควันก่อนเปิดเทอม 5. ครูนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตพื้นที่ 4 แห่ง ได้รับการพ่นหมอกควันก่อนเปิดเทอม
ผลลัพธ์ 1. ญาติและผู้ป่วยที่สงลัยหรือเป็นโรคไข้เลือดออกทราบถึงสาเหตุการเกิดโรคไข้เลือดออกและวิธีการปฏิบัติแก้ไขป้องกันโรคไข้เลือดออกเพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกซ้ำ 2. การเกิดโรคไข้เลือดออกระบาดลดลง 3. โรงเรียนมีความตื่นตัวและตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก

 

10,366 0

2. ค่าจัดซื้อน้ำยาพ่นหมอกควัน

วันที่ 3 มกราคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าน้ำยาพ่นหมอกควัน จำนวน 8 ขวด ขวดละ 1650 บาท เป็นเงินจำนวน 13200 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1. ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 17 ครัวเรือนได้รับการสอบสวนไข้เลือดออกหลังรับแจ้งรายงานโรค 2. ครัวเรือนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 17 ครัวเรือนได้รับการพ่นหมอกควันเพื่อกำจักยุง 3. ครัวเรือนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 17 ครัวเรือนได้รับการตรวจลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุง 4. ครูนักเรียนในโรงเรียนในเขตพื้นที่ทั้ง 6 แห่ง ได้รับการพ่นหมอกควันก่อนเปิดเทอม 5. ครูนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตพื้นที่ 4 แห่ง ได้รับการพ่นหมอกควันก่อนเปิดเทอม
ผลลัพธ์ 1. ญาติและผู้ป่วยที่สงลัยหรือเป็นโรคไข้เลือดออกทราบถึงสาเหตุการเกิดโรคไข้เลือดออกและวิธีการปฏิบัติแก้ไขป้องกันโรคไข้เลือดออกเพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกซ้ำ 2. การเกิดโรคไข้เลือดออกระบาดลดลง 3. โรงเรียนมีความตื่นตัวและตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก

 

10,366 0

3. ค่าจ้างเหมาพ่นหมอกควัน 2 คน

วันที่ 3 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าจ้างเหมาพ่นหมอกควัน 2 คน จำนวน 100 ครั้งๆละ 150 บาท/คน เป็นเงินจำนวน 30000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1. ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 17 ครัวเรือนได้รับการสอบสวนไข้เลือดออกหลังรับแจ้งรายงานโรค 2. ครัวเรือนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 17 ครัวเรือนได้รับการพ่นหมอกควันเพื่อกำจักยุง 3. ครัวเรือนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 17 ครัวเรือนได้รับการตรวจลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุง 4. ครูนักเรียนในโรงเรียนในเขตพื้นที่ทั้ง 6 แห่ง ได้รับการพ่นหมอกควันก่อนเปิดเทอม 5. ครูนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตพื้นที่ 4 แห่ง ได้รับการพ่นหมอกควันก่อนเปิดเทอม
ผลลัพธ์ 1. ญาติและผู้ป่วยที่สงลัยหรือเป็นโรคไข้เลือดออกทราบถึงสาเหตุการเกิดโรคไข้เลือดออกและวิธีการปฏิบัติแก้ไขป้องกันโรคไข้เลือดออกเพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกซ้ำ 2. การเกิดโรคไข้เลือดออกระบาดลดลง 3. โรงเรียนมีความตื่นตัวและตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก

 

10,366 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ญาติและผู้ป่วยที่สงสัยหรือเป็นโรคไข้เลือดออกทราบถึงสาเหตุการเกิดโรคไข้เลือดออกและวิธีการปฏิบัติแก้ไขป้องกันโรคไข้เลือดออกเพื่อป้องกันการเกิดโรคเข้เลือดออกซ้ำ 2. การเกิดโรคไข้เลือดออกระบาดลดลง 3. โรงเรียนมีความตื่นตัวตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก พติกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพประชาชนที่ได้รเป็นโรคมีความรุ้ความเข้าใจในวิธีการป้องกันโรคไข้เลือดออกทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายเพื่อป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำ ปัญหา/อุปสรรค การลงพื้นที่พ่นหมอกควันเลื่อนวันออกพ่นจากแผนหรืกำหนดลงควบคุมโรคทำให้เกิดความล่าช้า สาเหตุ เพราะ สภาพดินฟ้าอากาศอยู่ในช่วงหน้าฝน การติดต่อปะสานงานล่าช้า การส่งต่อเครื่องพ่นหมอกควัน แนวทางแก้ไข กำหนดแนวทางขั้นตอนการรายงานโรคทีเป็นแนวทางชัดเจน การประสานลงพ่นหมอกควันในพื้นที่

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อกำจัดยุงลายที่เป็นพาหนะนำโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของบ้านเรือนในพื้นที่รับผิดชอบปลอดลูกน้ำยุงลาย
1.00

บ้านผู้ป่วยและบริเวณบ้านรอบรัศมีมีทิศทาง 100 เมตร ของผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ทั้ง 17 ครัวเรือน ได้รับการพ่นหมอกควันเพื่อกำจัดยุง

2 เพื่อควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของหมู่่บ้านในพื้นที่รับผิดชอบสามารถควบคุมโรคได้
1.00

โรงเรียนจำนวน 5 แห่ง และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการพ่นหมอกควันกำจัดยุงทั้งในและนอกอาคาร ทุกอาคาร ช่องรูระบายน้ำ รวมทั้งสนามเด็กเล็กและสวนต่างๆ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 10366
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10,366
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกำจัดยุงลายที่เป็นพาหนะนำโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (2) เพื่อควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงในการพ่นหมอกควัน (2) ค่าจ้างเหมาพ่นหมอกควัน 2 คน (3) ค่าจัดซื้อน้ำยาพ่นหมอกควัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย ปีงบประมาณ พ.ศ.2561 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอุบลรัตน์เมืองสง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด