กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสร้างเสริมความรอบรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็ก โดยการให้คำแนะนำ คำปรึกษา ให้ความรู้และสาธิต ด้านการส่งเสริมภาวะโภชนาการ วัคซีน ภาวะซีด ทันตสุขภาพ พัฒนาการ และสติปัญญาในเด็ก 0-5 ปี
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี มีความรอบรู้ด้านสุขภาพก่อน-หลัง ร้อยละ 80
0.00

 

2 2. เพื่อให้บริการเฝ้าระวัง ประเมิน คัดกรอง การเยี่ยมบ้าน และการเข้าถึงชุดสิทธิประโยชน์ ด้านภาวะสุขภาพ โภชนาการ วัคซีน ภาวะซีด ทันตสุขภาพ และพัฒนาการ ในเด็ก 0-5 ปี
ตัวชี้วัด : 2. ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี มีความพึงพอใจ ร้อยละ 90
0.00

 

3 3. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการ หรือพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการดูแลช่วยเหลือและส่งต่อเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 3. เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการติดตาม ดูแล และส่งต่อ ด้านภาวะสุขภาพ โภชนาการ วัคซีน ภาวะซีด ทันตสุขภาพ และพัฒนาการ ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 294
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 214
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างเสริมความรอบรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็ก โดยการให้คำแนะนำ คำปรึกษา ให้ความรู้และสาธิต ด้านการส่งเสริมภาวะโภชนาการ วัคซีน ภาวะซีด ทันตสุขภาพ พัฒนาการ และสติปัญญาในเด็ก 0-5 ปี (2) 2. เพื่อให้บริการเฝ้าระวัง ประเมิน คัดกรอง การเยี่ยมบ้าน และการเข้าถึงชุดสิทธิประโยชน์ ด้านภาวะสุขภาพ โภชนาการ วัคซีน ภาวะซีด ทันตสุขภาพ และพัฒนาการ ในเด็ก 0-5 ปี (3) 3. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการ หรือพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการดูแลช่วยเหลือและส่งต่อเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่  1 ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ในการดำเนินโครงการ และสะท้อนคืนกลับข้อมูลสภาวะสุขภาพเด็กปฐมวัย ได้แก่ ข้อมูลด้าน โภชนาการ พัฒนาการ ฟัน ภาวะซีด วัคซีน และพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กอายุ 0-5 ปี ให้แก่ทีมแกนนำและชุมชน เพื่อสร้างการมีส่วนร่วม ไตรมาสละ 1 ครั (2) กิจกรรมที่  2 อบรมเพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องพัฒนาการโดยใช้โปรแกรมการส่งเสริมพัฒนาการและสร้างวินัยเชิงบวกโดยครอบครัวมีส่วนร่วม (Triple P) ในสถานที่ที่เหมาะสมตามบริบทชุมชน จำนวน 30 คน  (ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก/ครูศพด./แกนนำ จำนวน  30 คน) (3) กิจกรรมที่ 3 จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับตรวจสุขภาพเด็ก (ไม้วัดตัวแบบยืน/นอน) (4) กิจกรรมที่ 4 ออกตรวจคัดกรองภาวะโภชนาการและพัฒนาการในเด็ก 0-5 ปี ในศพด. และชุมชน (เด็ก 40 คน ,แกนนำ 10 คน จำนวน 50 คน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh