กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการชาวตำบลท่าพญารู้ทันป้องกันได้ โรคระบาดที่มากับฤดูฝน ปี 2568 ”
ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลท่าพญา




ชื่อโครงการ โครงการชาวตำบลท่าพญารู้ทันป้องกันได้ โรคระบาดที่มากับฤดูฝน ปี 2568

ที่อยู่ ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L1481-2-12 เลขที่ข้อตกลง 8/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชาวตำบลท่าพญารู้ทันป้องกันได้ โรคระบาดที่มากับฤดูฝน ปี 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพญา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวตำบลท่าพญารู้ทันป้องกันได้ โรคระบาดที่มากับฤดูฝน ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชาวตำบลท่าพญารู้ทันป้องกันได้ โรคระบาดที่มากับฤดูฝน ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1481-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,190.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพญา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ระบุว่า ช่วงฤดูฝน จะเกิดโรคที่มากับฝน เป็นฤดูที่มีสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย นอกจากอาการไข้หวัด ซึ่งเป็นโรคที่พบบ่อยในช่วงนี้แล้ว ยังมีกลุ่มโรคที่พบบ่อยในช่วงหน้าฝนที่ต้องระวัง สามารถแบ่งกลุ่มโรคได้ดังนี้ (1) กลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจ กลุ่มโรคนี้จะพบได้มากที่สุดในช่วงหน้าฝน โดยโรคที่พบบ่อยได้แก่ โรคไข้หวัด หรือไข้หวัดทั่วไป (Common Cold) , โรคไข้หวัดใหญ่ (Influenza virus) , โรคปอดอักเสบ (Pneumonia) (2) กลุ่มโรคที่มียุงเป็นพาหะ โรคติดต่อที่เกิดจากยุง ไม่ว่าจะเป็นยุงลาย ยุงก้นปล่อง ยุงรำคาญ ช่วงหน้าฝนนี้ก็พบมากเช่นกัน ได้แก่ โรคไข้เลือดออก , โรคชิคุนกุนยา – โรคไข้ปวดข้อยุงลาย , โรคไข้มาลาเรีย , โรคไข้สมองอักเสบเจอี , โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า (Zika Fever) (3) โรคมือ เท้า ปาก (4) กลุ่มโรคติดต่อทางน้ำดื่มและอาหาร สาเหตุสำคัญเนื่องมาจากการรับประทานอาหารและน้ำดื่มที่ไม่สะอาดหรือมีการปนเปื้อนเชื้อโรคทำให้เกิดโรคในระบบทางเดินอาหารและลำไส้ ได้แก่ โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน , โรคบิด , โรคอาหารเป็นพิษ (5) กลุ่มโรคติดเชื้อผ่านทางบาดแผล และเยื่อบุผิวหนัง ได้แก่ โรคฉี่หนู หรือ เลปโตสไปโรสิส (Leptospirosis) , โรคตาแดง – โรคเยื่อบุตาอักเสบ เป็นต้น     โดยจากระบบการเฝ้าระวังโรค กองระบาดวิทยา ระหว่างวันที่ 1 มกราคม - 21 สิงหาคม 2567 พบโรคที่มีผู้ป่วยสูงสุด 5 ลำดับแรก ได้แก่ โรคไข้หวัดใหญ่ ปอดอักเสบ อาหารเป็นพิษ ไข้เลือดออก และ มือเท้าปาก ซึ่งเป็นโรคที่สำคัญและมีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่องทุกปี นอกจากนี้โรคอื่นๆ ที่มักพบผู้ป่วยเพิ่มสูงขึ้นในช่วงฤดูฝนหรือในช่วงที่มีเหตุการณ์น้ำท่วม ได้แก่ โรคเลปโตสไปโรสิสหรือโรคฉี่หนู (ผู้ป่วยสะสม 2,267 ราย เสียชีวิต 29 ราย) โรคเมลิออยโดสิส (ผู้ป่วยสะสม 2,210 ราย เสียชีวิต 65 ราย) และโรคตาแดง (ผู้ป่วย สะสม 72,775 ราย ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต)”     ดังนั้นเพื่อเป็นการรับมือโรคระบาดที่มากับฤดูฝนที่อาจจะเกิดขึ้น ไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดในตำบลท่าพญา จึงต้องมีการร่วมมือกันทุกภาคส่วน ในส่วนของชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลท่าพญา ซึ่งชมรมที่ดำเนินการด้านสุขภาพในพื้นที่ ทำงานเชี่ยมโยงกับรพ.สต.ท่าพญา ได้เล็งเห็นปัญหาการระบาดของโรคที่มากับฤดูฝนที่อาจจะเกิดขึ้น หากไม่เตรียมพร้อมรับมืออย่างเต็มที่ จึงได้จัดทำโครงการ “ชาวตำบลท่าพญารู้ทันป้องกันได้ โรคระบาดที่มากับฤดูฝน ปี2568”โดยการอบรมความรู้เรื่องโรคระบาดที่เกิดในช่วงฤดูฝน และวิธีป้องกันตนเองจากโรคดังกล่าวให้แก่ตัวแทนประชาชนในแต่ละหมู่บ้าน พื้นที่ตำบลท่าพญา เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้ นำไปป้องกันตนเองและคนในครอบครัวไม่ให้เกิดโรค รวมถึงการกำจัดพาหะนำโรค และแหล่งเพาะพันธุ์ของโรคในบริเวณบ้านหรือในชุมชนที่อยู่อาศัย จึงได้จัดทำโครงการครั้งนี้ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าพญา ในเรื่องโรคระบาดที่เกิดในช่วงฤดูฝน และวิธีป้องกันตนเองจากโรคดังกล่าว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผุ้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องโรคระบาดที่เกิดในช่วงฤดูฝน สามารถป้องกันตนเองจากโรค กำจัดพาหะนำโรคและแหล่งเพาะพันธุ์โรคได้ด้วยตนเอง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าพญา ในเรื่องโรคระบาดที่เกิดในช่วงฤดูฝน และวิธีป้องกันตนเองจากโรคดังกล่าว
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรม(ประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าพญา) จำนวน 80 คน ทำแบบประเมินความรู้หลังอบรมผ่านเกณฑ์ร้อยละ60 ขึ้นไป จากคะแนนเต็มของแบบประเมิน อย่างน้อย 64 คน คิดเป็นร้อย 80

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าพญา ในเรื่องโรคระบาดที่เกิดในช่วงฤดูฝน และวิธีป้องกันตนเองจากโรคดังกล่าว

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชาวตำบลท่าพญารู้ทันป้องกันได้ โรคระบาดที่มากับฤดูฝน ปี 2568 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 68-L1481-2-12

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลท่าพญา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด