โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน พลัส สู่ 2500 วัน เทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน พลัส สู่ 2500 วัน เทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1) ”
ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางวิธิรา ไชยชนะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน พลัส สู่ 2500 วัน เทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1)
ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L7884-1-14 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน พลัส สู่ 2500 วัน เทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน พลัส สู่ 2500 วัน เทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน พลัส สู่ 2500 วัน เทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L7884-1-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 389,517.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
"1000 วันแรกของชีวิต" ถือเป็นต้นน้ำของการสร้างรากฐานการมัสุขภาพที่ดีตลอดช่วงชีวิต โดยเริ่มตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์มารดา จนถึงอายุ 2 ปี ซึ่งนับว่าเป็นโอกาสทองของการทุนสร้างมนุษย์ที่สำคัญและคุ้มค่ากับ การลงทุนมากที่สุด เนื่องจากเป็นช่วงที่สมองมีการพัฒนาสูงสุด ทั้งการสร้างเซลล์สมองและการเชื่อมโยงเซลล์สมองกับโครงข่ายเส้นใยประสาท ทำให้เด็กมีความสามารถใรการเรียนรู้ จดจำ และการเจริญเติบโตด้านร่างกาย อย่างรวดเร็ว ส่วนสูงของเด็กที่อายุ 2 - 3 ปี ถือเป็น Proxy indicator ของสุขภาพจนถึงวัยผู้ใหญ่และเป็นทุนมนุษย์ ที่สำคัญ
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ขับเคลื่อนงานมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต ตั้งแต่ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2564 มีแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานโดยเน้นการพัฒนาคุณภาพบริการในคลินิกฝากครรภ์ (ANC) คลินิกเด็กสุขภาพดี (WCC) ให้ความสำคัญกับชุมชน ท้องถิ่น และภาคีเครือข่ายการร่วมลงทุนเป็นเจ้าของ ในการขับเคลื่อนงานโดยใช้กลไกระดับพื้นที่และดำเนินการครบถ้วนทุกกิจกรรมสำคัญ (กิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน) ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายทุกคน ได้แก่ หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเด็กอายุ 0 - 2 ปี และในงบประมาณ พ.ศ. 2565 ได้ขับเคลื่นการดำเนินงานผ่านภาคีเครือข่ายบันทึกข้อตกลงการบูรณาการความร่วมมือ การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต กลุ่มเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2565 - 2569 (MOU 6 กระทรวง) โดยมีกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงาน กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศีกษาธิการ ร่วมพัฒนาและยกระดับการดูแล ส่งเสริมสุขภาพสรีและเด็กในช่วง 1000 วันแรก ของชีวิต ต่อเนื่องไปจนถึงเด็กอายุ 5 ปี ผ่านกลไกตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน Plus สู่ 2500 วัน ซึ่งกลไกลที่เกิดจากความร่วมมือภาคีเครื่อข่ายที่เกี่ยวข้อง ในการดูแล ส่งเสริมสุขภาพ และคุ้มครองสตรีและเด็กปฐมวัย ตั้งแต่ปฎิสนธิในครรภ์มารดา จนถึงเด็กอายุ 5 ปี รวมถึงการพัฒนาคุณภาพงานบริการสาธารณสุข มีการพัฒนาคลินิกฝากครรภ์ (ANC) คุณภาพในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ดูแลการคลอด และดูแลหญิงหลังคลอด ใหเปลอดภัยทั้งแม่และทารก พัมนาคลินิกเด็กสุขภาพดี (WCC) คุณภาพ เพื่อเสริมสร้างให้เด็กมีสุขภาพดี มีพัฒนาการสมวัยตั้งแต่แรกเกิด ด้วยบริการที่ดูแลเด็กปกติให้มีสุขภาพที่แข็งแรง เติบโตทั้งทางกาย และสติปัญญาได้เต็มศักยภาพ พร้อมวุฒิภาวะทางอารมณ์โดยมีเป้าหมาย หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางไม่เกินร้อยละ 14 ทารกมีน้ำหนักแรกเกิดไม่น้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7 เด็กอายุ 0-5 ปี ภาวะโภชนาการ สูงดี สมส่วนตามวัย ร้อยละ 70 เด็กมีภาวะเตี้ย ไม่เกินร้อยละ 9 เด็กมีภาวะผอมไม่เกินร้อยละ 5 เด็กมีภาวะเริ่มอ้วนไม่เกินร้อยละ 8 และพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 87 เด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันผุ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75) เด็กมีสุขภาวะดี ไอคิว ดี ทำให้เด็กเติบดตเป็นคนที่มีคุณภาพ เก่งดี มีสุข
จังหวัดปัตตานีอโดยสำนักงานสาธารณสุข มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานตำบล มหัศจรรย์ 1000 วัน Plus สู้ 2500 วัน ผ่านคณะกรรมการและคณะทำงานทุกระดับ ในการขับเคลื่อน บูรณาการทั้ง 6 กรคะทราง ผลการดำเนินงาน ร้อยละของตำบลที่ประเมินตนเอง "ตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน Plus สู่ 2500 วัน" ณ เดือน เมษายน - พฤษภาคม 2567 ตำบลประเมินตนเอง จำนวน 115 ตำบล (12 อำเภอ) คิดเป็นร้อยละ 100
ร้อยละตำบลที่ผ่านการประเมินตนเอง "ตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน Plus สู้ 2500 วัน" ระดับดีเยี่ยม (คะแนน ≥ 80) ทั้ง 4 องค์ประกอบ ณ เดือน เมษายน - พฤาภาคม 2567 สรุปจำนวน 7 ตำบล คิดเป็นร้อยละ 6.07 อำเภอปะนาเระ 4 ตำบล ได้แก่ ตำบลท่าข้าม ดอน พ่อมิ่ง และบ้านกลาง อำเภอเมือง 3 ตำบล ได้แก่ ตำบลบานา คลองมานิง และกะมิยอ ตำบลที่ได้รับโล่เชิดชุเกียรติ ตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน Plus สู่ 2500 วัน ระดับดีเยี่ยม 1 ตำบล ได้แก่ ตำบลท่าข้าม อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
จากการประเมินตนเอง "ตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน Plus สู่ 2500 วัน" ของเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ทั้ง 3 ตำบล ประเมินตนเองไม่ผ่านเกณฑ์ ทั้ง 4 องค์ประกอบ เนื่องจากพบปัญหากระบวนการดำเนินงานตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน พลัส สู่ 2500 วัน ยังไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ประเมินที่กรมอนามัยกำหนดและจากผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก พบภาวะโลหิตจางขระตั้งครรภ์ ร้อยละ 37.80 ซึ่งยังเป็นปัญหาอันดับต้นของหญิงตั้งครรภ์ และยังพบทารกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม ค่อนข้างสูงถึงร้อยละ 20.76 ปัญหาเด็กทารกแรกเกิด ถึงต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว ร้อยละ 48.11 เด็ก 0-5 ปี มีภาวะสูงดี สมส่วร ร้อยละ 69.02 เด็ก 0-5 ปี มีภาวะผอม ร้อยละ 3.69 (ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2567) ดังนั้น ทางกลุ่มเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี จึงได้จัดโครงการมหัศจรรย์ 1000 Plus สู่ 2500 วัน เพื่อส่งเสริมให้ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย พัฒนาการสมวัยสร้างความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของสุขภาพมารดาตั้งแต่ตั้งครรภ์ จนถึงเด็กอายุ 5 ปี รวมถึงการส่งเสริมให้หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความพร้อมตั้งแค่ระยะก่อนตั้งครรภ์ที่เป็นจุดเริ่มต้นสำคัญของการส่งเสริมให้การตั้งครรภ์มีคุณภาพ ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย และเด็กปฐมวัยเติบโตเต็มศักยภาพ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีคุณภาพชีวิตที่ดีโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมบรูณ์แข็งแรงทั้งทางกายและจิตใจ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อยกระดับบริการส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์ตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน พลัส สู่ 2500 วัน 2. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ที่แต่งงานอยู่กินกับสามีและหญิงที่แต่งงานใหม่อายุ 19-45 ปี เตรียมความพร้อมในการตั้งครรภ์ได้รีบการส่งเสริมสุขภาพป้องกันภาวะโลหิตจาง 3. เพื่อส่งเสริมและติดตามดูแลเด็กปฐมวัย 0-5 ปี ที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการที่มีคุณภาพครอบคลุม ครบถ้วน และเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกิดความร่วมมือผ่านภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน พลัส สู่ 2500 วัน
- หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่อยู่กินกับสามีและหญิงที่แต่งงานใหม่อายุ 19-45 ปี เตรียมความพร้อมในการตั้งครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ
- เด็กปฐมวัยเทศบาลเมืองปัตตานีมีสุขภาวะดี มีภาวะโภชนาการสูงดรสมส่วน พัมนาการสมวัย วัคซีนครบ ฟันไม่ผุ และไม่มีภาวะซีด
- แกนนำสุขภาพในชุมชนและภาคีเครือข่ายได้รับการพัมนาความรู้ ความสามรถ ทักษะ กลไกลการดำเนินงาน ระบบบริการสาธารณสุข การส่งเสริม เฝ้าระวังดูแลสุขภาพหยิงตั้งครรภ์ และเด็ก 0-5 ปี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อยกระดับบริการส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์ตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน พลัส สู่ 2500 วัน 2. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ที่แต่งงานอยู่กินกับสามีและหญิงที่แต่งงานใหม่อายุ 19-45 ปี เตรียมความพร้อมในการตั้งครรภ์ได้รีบการส่งเสริมสุขภาพป้องกันภาวะโลหิตจาง 3. เพื่อส่งเสริมและติดตามดูแลเด็กปฐมวัย 0-5 ปี ที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการที่มีคุณภาพครอบคลุม ครบถ้วน และเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 ตำบลในเขตเทศบาลเมืองผ่านเกณฑ์การประเมินตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน พลัส สู่ 2500 วัน
2. ร้อยละ 90 หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่แต่งงานอยู่กินกับสามีและหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่แต่งงานใหม่อายุ 19 - 45 ปี เตรียมความพร้อมในการตั้งครรภ์ได้รับการส่งเสริมสุขภาพป้องกันภาวะโลหิตจาง
3. ร้อยละ 90 เด็กปฐมวัย 0-5 ปี ที่ปํญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับการส่งเสริมและติดตาม ที่มีคุณภาพครอบคลุม ครบถ้วน และเหมาะสม
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อยกระดับบริการส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์ตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน พลัส สู่ 2500 วัน 2. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ที่แต่งงานอยู่กินกับสามีและหญิงที่แต่งงานใหม่อายุ 19-45 ปี เตรียมความพร้อมในการตั้งครรภ์ได้รีบการส่งเสริมสุขภาพป้องกันภาวะโลหิตจาง 3. เพื่อส่งเสริมและติดตามดูแลเด็กปฐมวัย 0-5 ปี ที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการที่มีคุณภาพครอบคลุม ครบถ้วน และเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน พลัส สู่ 2500 วัน เทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L7884-1-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางวิธิรา ไชยชนะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน พลัส สู่ 2500 วัน เทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1) ”
ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางวิธิรา ไชยชนะ
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L7884-1-14 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน พลัส สู่ 2500 วัน เทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน พลัส สู่ 2500 วัน เทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน พลัส สู่ 2500 วัน เทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L7884-1-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 389,517.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
"1000 วันแรกของชีวิต" ถือเป็นต้นน้ำของการสร้างรากฐานการมัสุขภาพที่ดีตลอดช่วงชีวิต โดยเริ่มตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์มารดา จนถึงอายุ 2 ปี ซึ่งนับว่าเป็นโอกาสทองของการทุนสร้างมนุษย์ที่สำคัญและคุ้มค่ากับ การลงทุนมากที่สุด เนื่องจากเป็นช่วงที่สมองมีการพัฒนาสูงสุด ทั้งการสร้างเซลล์สมองและการเชื่อมโยงเซลล์สมองกับโครงข่ายเส้นใยประสาท ทำให้เด็กมีความสามารถใรการเรียนรู้ จดจำ และการเจริญเติบโตด้านร่างกาย อย่างรวดเร็ว ส่วนสูงของเด็กที่อายุ 2 - 3 ปี ถือเป็น Proxy indicator ของสุขภาพจนถึงวัยผู้ใหญ่และเป็นทุนมนุษย์ ที่สำคัญ
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ขับเคลื่อนงานมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต ตั้งแต่ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2564 มีแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานโดยเน้นการพัฒนาคุณภาพบริการในคลินิกฝากครรภ์ (ANC) คลินิกเด็กสุขภาพดี (WCC) ให้ความสำคัญกับชุมชน ท้องถิ่น และภาคีเครือข่ายการร่วมลงทุนเป็นเจ้าของ ในการขับเคลื่อนงานโดยใช้กลไกระดับพื้นที่และดำเนินการครบถ้วนทุกกิจกรรมสำคัญ (กิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน) ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายทุกคน ได้แก่ หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเด็กอายุ 0 - 2 ปี และในงบประมาณ พ.ศ. 2565 ได้ขับเคลื่นการดำเนินงานผ่านภาคีเครือข่ายบันทึกข้อตกลงการบูรณาการความร่วมมือ การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต กลุ่มเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2565 - 2569 (MOU 6 กระทรวง) โดยมีกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงาน กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศีกษาธิการ ร่วมพัฒนาและยกระดับการดูแล ส่งเสริมสุขภาพสรีและเด็กในช่วง 1000 วันแรก ของชีวิต ต่อเนื่องไปจนถึงเด็กอายุ 5 ปี ผ่านกลไกตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน Plus สู่ 2500 วัน ซึ่งกลไกลที่เกิดจากความร่วมมือภาคีเครื่อข่ายที่เกี่ยวข้อง ในการดูแล ส่งเสริมสุขภาพ และคุ้มครองสตรีและเด็กปฐมวัย ตั้งแต่ปฎิสนธิในครรภ์มารดา จนถึงเด็กอายุ 5 ปี รวมถึงการพัฒนาคุณภาพงานบริการสาธารณสุข มีการพัฒนาคลินิกฝากครรภ์ (ANC) คุณภาพในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ดูแลการคลอด และดูแลหญิงหลังคลอด ใหเปลอดภัยทั้งแม่และทารก พัมนาคลินิกเด็กสุขภาพดี (WCC) คุณภาพ เพื่อเสริมสร้างให้เด็กมีสุขภาพดี มีพัฒนาการสมวัยตั้งแต่แรกเกิด ด้วยบริการที่ดูแลเด็กปกติให้มีสุขภาพที่แข็งแรง เติบโตทั้งทางกาย และสติปัญญาได้เต็มศักยภาพ พร้อมวุฒิภาวะทางอารมณ์โดยมีเป้าหมาย หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางไม่เกินร้อยละ 14 ทารกมีน้ำหนักแรกเกิดไม่น้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7 เด็กอายุ 0-5 ปี ภาวะโภชนาการ สูงดี สมส่วนตามวัย ร้อยละ 70 เด็กมีภาวะเตี้ย ไม่เกินร้อยละ 9 เด็กมีภาวะผอมไม่เกินร้อยละ 5 เด็กมีภาวะเริ่มอ้วนไม่เกินร้อยละ 8 และพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 87 เด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันผุ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75) เด็กมีสุขภาวะดี ไอคิว ดี ทำให้เด็กเติบดตเป็นคนที่มีคุณภาพ เก่งดี มีสุข
จังหวัดปัตตานีอโดยสำนักงานสาธารณสุข มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานตำบล มหัศจรรย์ 1000 วัน Plus สู้ 2500 วัน ผ่านคณะกรรมการและคณะทำงานทุกระดับ ในการขับเคลื่อน บูรณาการทั้ง 6 กรคะทราง ผลการดำเนินงาน ร้อยละของตำบลที่ประเมินตนเอง "ตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน Plus สู่ 2500 วัน" ณ เดือน เมษายน - พฤษภาคม 2567 ตำบลประเมินตนเอง จำนวน 115 ตำบล (12 อำเภอ) คิดเป็นร้อยละ 100
ร้อยละตำบลที่ผ่านการประเมินตนเอง "ตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน Plus สู้ 2500 วัน" ระดับดีเยี่ยม (คะแนน ≥ 80) ทั้ง 4 องค์ประกอบ ณ เดือน เมษายน - พฤาภาคม 2567 สรุปจำนวน 7 ตำบล คิดเป็นร้อยละ 6.07 อำเภอปะนาเระ 4 ตำบล ได้แก่ ตำบลท่าข้าม ดอน พ่อมิ่ง และบ้านกลาง อำเภอเมือง 3 ตำบล ได้แก่ ตำบลบานา คลองมานิง และกะมิยอ ตำบลที่ได้รับโล่เชิดชุเกียรติ ตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน Plus สู่ 2500 วัน ระดับดีเยี่ยม 1 ตำบล ได้แก่ ตำบลท่าข้าม อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
จากการประเมินตนเอง "ตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน Plus สู่ 2500 วัน" ของเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ทั้ง 3 ตำบล ประเมินตนเองไม่ผ่านเกณฑ์ ทั้ง 4 องค์ประกอบ เนื่องจากพบปัญหากระบวนการดำเนินงานตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน พลัส สู่ 2500 วัน ยังไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ประเมินที่กรมอนามัยกำหนดและจากผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก พบภาวะโลหิตจางขระตั้งครรภ์ ร้อยละ 37.80 ซึ่งยังเป็นปัญหาอันดับต้นของหญิงตั้งครรภ์ และยังพบทารกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม ค่อนข้างสูงถึงร้อยละ 20.76 ปัญหาเด็กทารกแรกเกิด ถึงต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว ร้อยละ 48.11 เด็ก 0-5 ปี มีภาวะสูงดี สมส่วร ร้อยละ 69.02 เด็ก 0-5 ปี มีภาวะผอม ร้อยละ 3.69 (ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2567) ดังนั้น ทางกลุ่มเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี จึงได้จัดโครงการมหัศจรรย์ 1000 Plus สู่ 2500 วัน เพื่อส่งเสริมให้ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย พัฒนาการสมวัยสร้างความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของสุขภาพมารดาตั้งแต่ตั้งครรภ์ จนถึงเด็กอายุ 5 ปี รวมถึงการส่งเสริมให้หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความพร้อมตั้งแค่ระยะก่อนตั้งครรภ์ที่เป็นจุดเริ่มต้นสำคัญของการส่งเสริมให้การตั้งครรภ์มีคุณภาพ ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย และเด็กปฐมวัยเติบโตเต็มศักยภาพ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีคุณภาพชีวิตที่ดีโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมบรูณ์แข็งแรงทั้งทางกายและจิตใจ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อยกระดับบริการส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์ตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน พลัส สู่ 2500 วัน 2. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ที่แต่งงานอยู่กินกับสามีและหญิงที่แต่งงานใหม่อายุ 19-45 ปี เตรียมความพร้อมในการตั้งครรภ์ได้รีบการส่งเสริมสุขภาพป้องกันภาวะโลหิตจาง 3. เพื่อส่งเสริมและติดตามดูแลเด็กปฐมวัย 0-5 ปี ที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการที่มีคุณภาพครอบคลุม ครบถ้วน และเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกิดความร่วมมือผ่านภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน พลัส สู่ 2500 วัน
- หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่อยู่กินกับสามีและหญิงที่แต่งงานใหม่อายุ 19-45 ปี เตรียมความพร้อมในการตั้งครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ
- เด็กปฐมวัยเทศบาลเมืองปัตตานีมีสุขภาวะดี มีภาวะโภชนาการสูงดรสมส่วน พัมนาการสมวัย วัคซีนครบ ฟันไม่ผุ และไม่มีภาวะซีด
- แกนนำสุขภาพในชุมชนและภาคีเครือข่ายได้รับการพัมนาความรู้ ความสามรถ ทักษะ กลไกลการดำเนินงาน ระบบบริการสาธารณสุข การส่งเสริม เฝ้าระวังดูแลสุขภาพหยิงตั้งครรภ์ และเด็ก 0-5 ปี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อยกระดับบริการส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์ตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน พลัส สู่ 2500 วัน 2. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ที่แต่งงานอยู่กินกับสามีและหญิงที่แต่งงานใหม่อายุ 19-45 ปี เตรียมความพร้อมในการตั้งครรภ์ได้รีบการส่งเสริมสุขภาพป้องกันภาวะโลหิตจาง 3. เพื่อส่งเสริมและติดตามดูแลเด็กปฐมวัย 0-5 ปี ที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการที่มีคุณภาพครอบคลุม ครบถ้วน และเหมาะสม ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 ตำบลในเขตเทศบาลเมืองผ่านเกณฑ์การประเมินตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน พลัส สู่ 2500 วัน 2. ร้อยละ 90 หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่แต่งงานอยู่กินกับสามีและหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่แต่งงานใหม่อายุ 19 - 45 ปี เตรียมความพร้อมในการตั้งครรภ์ได้รับการส่งเสริมสุขภาพป้องกันภาวะโลหิตจาง 3. ร้อยละ 90 เด็กปฐมวัย 0-5 ปี ที่ปํญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับการส่งเสริมและติดตาม ที่มีคุณภาพครอบคลุม ครบถ้วน และเหมาะสม |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อยกระดับบริการส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์ตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน พลัส สู่ 2500 วัน 2. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ที่แต่งงานอยู่กินกับสามีและหญิงที่แต่งงานใหม่อายุ 19-45 ปี เตรียมความพร้อมในการตั้งครรภ์ได้รีบการส่งเสริมสุขภาพป้องกันภาวะโลหิตจาง 3. เพื่อส่งเสริมและติดตามดูแลเด็กปฐมวัย 0-5 ปี ที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการที่มีคุณภาพครอบคลุม ครบถ้วน และเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน พลัส สู่ 2500 วัน เทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L7884-1-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางวิธิรา ไชยชนะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......