โครงการเยาวชนตำบลท่าพญา รักเป็นรู้จักป้องกัน ปลอดการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ปลอดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปลอดยาเสพติด
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเยาวชนตำบลท่าพญา รักเป็นรู้จักป้องกัน ปลอดการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ปลอดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปลอดยาเสพติด ”
ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางธัญญาลักษณ์ นาคบรรพ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพญา
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนตำบลท่าพญา รักเป็นรู้จักป้องกัน ปลอดการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ปลอดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปลอดยาเสพติด
ที่อยู่ ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1481-1-02 เลขที่ข้อตกลง 15/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเยาวชนตำบลท่าพญา รักเป็นรู้จักป้องกัน ปลอดการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ปลอดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปลอดยาเสพติด จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพญา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนตำบลท่าพญา รักเป็นรู้จักป้องกัน ปลอดการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ปลอดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปลอดยาเสพติด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเยาวชนตำบลท่าพญา รักเป็นรู้จักป้องกัน ปลอดการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ปลอดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปลอดยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1481-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,830.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพญา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ระบุว่า การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ยังคงเป็นปัญหาสำคัญของประเทศไทยและทั่วโลก โดยองค์การสหประชาชาติ ได้กำหนดให้การลดอัตราคลอดในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดของเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (MDGs) และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ที่ต้องการให้บรรลุได้ภายใน ปี พ.ศ. 2573ปัจจุบันต้องยอมรับว่าอัตราการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในกลุ่มวัยรุ่นลดลงอย่างชัดเจน จากอัตราการคลอดบุตรในกลุ่มวัยรุ่นที่มีช่วงอายุระหว่าง 15-19 ปี อยู่ที่ 23 ต่อ 1,000 คน และกลุ่มช่วงอายุอายุระหว่าง 10-14 ปี อยู่ที่ 0.8 ต่อ 1,000 คน จากการมีความรอบรู้ในการป้องกันตนเอง โดยทั้งชายและหญิงสามารถพกและใช้ถุงยางอนามัย ,กินยาคุมกำเนิด ,ฉีดยาคุมกำเนิด แต่ทางกรมอนามัยยังคงเน้นย่ำ และยังคงให้ความสำคัญในเรื่องการให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน ในการป้องกันตนเอง และการยับยั้งชั่งใจ หากมีเพศสัมพันธ์ เพื่อป้องกัน ทั้งการตั้งครรภ์ไม่พึ่งประสงค์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่อาจเกิดขึ้นได้
โดยจากข้อมูลจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)ได้ระบุไว้ว่าในปี2566 มีการตรวจพบว่าผู้ติดเชื้อHIVรายใหม่ที่ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเยาวชน และมีแนวโน้มที่จะติดเชื้อHIVสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะผู้ที่ป่วยเป็นโรคซิฟิลิสและหนองในในกลุ่มเยาวชน ซึ่งผู้ป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์มีโอกาสการติดเชื้อเอชไอวี มากกว่าผู้ที่ไม่ได้ป่วยถึง 5-9 เท่า อย่างไรก็ตาม สปสช. ได้เตรียมงบประมาณไว้สำหรับงานเอชไอวี-เอดส์ จำนวน 3,978 ล้านบาท เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายสำหรับผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติหรือประชาชนกลุ่มเฉพาะตามที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด ครอบคลุมบริการการรักษาด้วยยาต้านไวรัส การตรวจชันสูตรทางห้องปฏิบัติการ การตรวจคัดกรองและการตรวจยืนยันเชื้อเอชไอวี
นอกจากปัญหาการตั้งครรภ์ในเยาวชน และปัญหาการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในเยาวชนแล้ว ยังพบว่าปัญหายาเสพติดในเยาวชน นับเป็นอีกหนึ่งปัญหาสำคัญที่อาจส่งผลกระทบในระยะยาวได้ โดยพบว่าช่วงวัย18-24 ปี เป็นช่วงอายุที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดมากที่สุด โดยสาเหตุปัจจัยที่ทำให้เยาวชนเข้าถึงยาเสพติดได้ง่าย ๆ มาจากยาเสพติดมีราคาถูกลง และหากเยาวชนถูกจับกุมจะไม่ได้รับโทษเท่ากับผู้ใหญ่
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าพญา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร อันจะส่งผลต่อการเสี่ยงที่จะตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ในวัยรุ่นและเยาวชน ปัญหาการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในเยาวชนจากการไม่ใช้อุปกรณ์ป้องกันหรือใช้อุปกรณ์ป้องกันผิดวิธี และปัญหาการใช้ยาเสพติดในเยาวชน จึงได้จัดทำโครงการ“เยาวชนตำบลท่าพญา รักเป็นรู้จักป้องกัน ปลอดการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ปลอดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปลอดยาเสพติด” เพื่อมุ่งเน้นให้เยาวชนในพื้นที่ตำบลท่าพญาได้รับความรู้ รู้จักวิธีการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม วิธีการป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เกิดพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด เกิดการตระหนัก ไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร อันจะส่งผลเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์
- เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ ได้รู้จักวิธีการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และวิธีการป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่นเอช-ไอวี (HIV) ซิฟิลิส เป็นต้น ฯลฯ
- เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
46
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
- ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้เรื่องวิธีการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และวิธีการป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
- ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด เกิดการตระหนัก ไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร อันจะส่งผลเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 40 คน ทำแบบประเมินความรู้หลังอบรมเรื่องปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร อันจะส่งผลเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ60 ขึ้นไป จากคะแนนเต็มของแบบประเมิน อย่างน้อย 32 คน คิดเป็นร้อย 80
2
เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ ได้รู้จักวิธีการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และวิธีการป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่นเอช-ไอวี (HIV) ซิฟิลิส เป็นต้น ฯลฯ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 50 คน ทำแบบประเมินความรู้หลังอบรมเรื่องวิธีการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และวิธีการป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่นเอช-ไอวี (HIV) ซิฟิลิส เป็นต้น ฯลฯ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ60 ขึ้นไป จากคะแนนเต็มของแบบประเมิน อย่างน้อย 32 คน คิดเป็นร้อย 80
3
เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 40 คน ทำแบบประเมินความรู้หลังอบรมเรื่องโทษของยาเสพติด ผ่านเกณฑ์ร้อยละ60 ขึ้นไป จากคะแนนเต็มของแบบประเมิน อย่างน้อย 32 คน คิดเป็นร้อย 80
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
46
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
46
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร อันจะส่งผลเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ (2) เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ ได้รู้จักวิธีการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และวิธีการป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่นเอช-ไอวี (HIV) ซิฟิลิส เป็นต้น ฯลฯ (3) เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเยาวชนตำบลท่าพญา รักเป็นรู้จักป้องกัน ปลอดการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ปลอดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปลอดยาเสพติด จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1481-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางธัญญาลักษณ์ นาคบรรพ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเยาวชนตำบลท่าพญา รักเป็นรู้จักป้องกัน ปลอดการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ปลอดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปลอดยาเสพติด ”
ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางธัญญาลักษณ์ นาคบรรพ์
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1481-1-02 เลขที่ข้อตกลง 15/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเยาวชนตำบลท่าพญา รักเป็นรู้จักป้องกัน ปลอดการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ปลอดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปลอดยาเสพติด จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพญา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนตำบลท่าพญา รักเป็นรู้จักป้องกัน ปลอดการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ปลอดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปลอดยาเสพติด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเยาวชนตำบลท่าพญา รักเป็นรู้จักป้องกัน ปลอดการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ปลอดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปลอดยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1481-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,830.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพญา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ระบุว่า การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ยังคงเป็นปัญหาสำคัญของประเทศไทยและทั่วโลก โดยองค์การสหประชาชาติ ได้กำหนดให้การลดอัตราคลอดในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดของเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (MDGs) และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ที่ต้องการให้บรรลุได้ภายใน ปี พ.ศ. 2573ปัจจุบันต้องยอมรับว่าอัตราการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในกลุ่มวัยรุ่นลดลงอย่างชัดเจน จากอัตราการคลอดบุตรในกลุ่มวัยรุ่นที่มีช่วงอายุระหว่าง 15-19 ปี อยู่ที่ 23 ต่อ 1,000 คน และกลุ่มช่วงอายุอายุระหว่าง 10-14 ปี อยู่ที่ 0.8 ต่อ 1,000 คน จากการมีความรอบรู้ในการป้องกันตนเอง โดยทั้งชายและหญิงสามารถพกและใช้ถุงยางอนามัย ,กินยาคุมกำเนิด ,ฉีดยาคุมกำเนิด แต่ทางกรมอนามัยยังคงเน้นย่ำ และยังคงให้ความสำคัญในเรื่องการให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน ในการป้องกันตนเอง และการยับยั้งชั่งใจ หากมีเพศสัมพันธ์ เพื่อป้องกัน ทั้งการตั้งครรภ์ไม่พึ่งประสงค์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่อาจเกิดขึ้นได้ โดยจากข้อมูลจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)ได้ระบุไว้ว่าในปี2566 มีการตรวจพบว่าผู้ติดเชื้อHIVรายใหม่ที่ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเยาวชน และมีแนวโน้มที่จะติดเชื้อHIVสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะผู้ที่ป่วยเป็นโรคซิฟิลิสและหนองในในกลุ่มเยาวชน ซึ่งผู้ป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์มีโอกาสการติดเชื้อเอชไอวี มากกว่าผู้ที่ไม่ได้ป่วยถึง 5-9 เท่า อย่างไรก็ตาม สปสช. ได้เตรียมงบประมาณไว้สำหรับงานเอชไอวี-เอดส์ จำนวน 3,978 ล้านบาท เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายสำหรับผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติหรือประชาชนกลุ่มเฉพาะตามที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด ครอบคลุมบริการการรักษาด้วยยาต้านไวรัส การตรวจชันสูตรทางห้องปฏิบัติการ การตรวจคัดกรองและการตรวจยืนยันเชื้อเอชไอวี นอกจากปัญหาการตั้งครรภ์ในเยาวชน และปัญหาการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในเยาวชนแล้ว ยังพบว่าปัญหายาเสพติดในเยาวชน นับเป็นอีกหนึ่งปัญหาสำคัญที่อาจส่งผลกระทบในระยะยาวได้ โดยพบว่าช่วงวัย18-24 ปี เป็นช่วงอายุที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดมากที่สุด โดยสาเหตุปัจจัยที่ทำให้เยาวชนเข้าถึงยาเสพติดได้ง่าย ๆ มาจากยาเสพติดมีราคาถูกลง และหากเยาวชนถูกจับกุมจะไม่ได้รับโทษเท่ากับผู้ใหญ่ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าพญา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร อันจะส่งผลต่อการเสี่ยงที่จะตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ในวัยรุ่นและเยาวชน ปัญหาการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในเยาวชนจากการไม่ใช้อุปกรณ์ป้องกันหรือใช้อุปกรณ์ป้องกันผิดวิธี และปัญหาการใช้ยาเสพติดในเยาวชน จึงได้จัดทำโครงการ“เยาวชนตำบลท่าพญา รักเป็นรู้จักป้องกัน ปลอดการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ปลอดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปลอดยาเสพติด” เพื่อมุ่งเน้นให้เยาวชนในพื้นที่ตำบลท่าพญาได้รับความรู้ รู้จักวิธีการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม วิธีการป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เกิดพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด เกิดการตระหนัก ไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร อันจะส่งผลเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์
- เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ ได้รู้จักวิธีการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และวิธีการป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่นเอช-ไอวี (HIV) ซิฟิลิส เป็นต้น ฯลฯ
- เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 46 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
- ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้เรื่องวิธีการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และวิธีการป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
- ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด เกิดการตระหนัก ไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร อันจะส่งผลเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 40 คน ทำแบบประเมินความรู้หลังอบรมเรื่องปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร อันจะส่งผลเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ60 ขึ้นไป จากคะแนนเต็มของแบบประเมิน อย่างน้อย 32 คน คิดเป็นร้อย 80 |
|
|||
2 | เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ ได้รู้จักวิธีการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และวิธีการป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่นเอช-ไอวี (HIV) ซิฟิลิส เป็นต้น ฯลฯ ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 50 คน ทำแบบประเมินความรู้หลังอบรมเรื่องวิธีการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และวิธีการป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่นเอช-ไอวี (HIV) ซิฟิลิส เป็นต้น ฯลฯ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ60 ขึ้นไป จากคะแนนเต็มของแบบประเมิน อย่างน้อย 32 คน คิดเป็นร้อย 80 |
|
|||
3 | เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 40 คน ทำแบบประเมินความรู้หลังอบรมเรื่องโทษของยาเสพติด ผ่านเกณฑ์ร้อยละ60 ขึ้นไป จากคะแนนเต็มของแบบประเมิน อย่างน้อย 32 คน คิดเป็นร้อย 80 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 46 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 46 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร อันจะส่งผลเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ (2) เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ ได้รู้จักวิธีการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และวิธีการป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่นเอช-ไอวี (HIV) ซิฟิลิส เป็นต้น ฯลฯ (3) เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเยาวชนตำบลท่าพญา รักเป็นรู้จักป้องกัน ปลอดการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ปลอดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปลอดยาเสพติด จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1481-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางธัญญาลักษณ์ นาคบรรพ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......