กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง


“ โครงการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายมนูญ สุขรัตน์

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างเสริมสุขภาพและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคล ครอบครัว และชุมชน พืชผักเป็นอาหารที่คนไทยนิยมนำมาใช้รับประทานกันมาก เนื่องจากมีคุณค่าทางอาหารทั้งวิตามินและแร่ธาตุต่างๆเป็นประโยชน์ต่อร่างกายสูง การบริโภคผักนั้นมักเลือกบริโภคผักที่สวยงาม ไม่มีร่องรอยการทำลายของหนอนหรือศัตรูพืช จึงทำให้เกษตรกรที่ปลูกผักต้องใช้สารเคมีป้องกันและกำจัดแมลงฉีดพ่นในปริมาณที่มาก เพื่อให้ได้ผักที่สวยงามตามความต้องการของตลาด เมื่อผู้ซื้อนำมาบริโภคแล้วอาจได้รับอันตรายจากสารพิษตกค้างในพืชผักนั้นได้ เพ่ื่อเป็นการแก้ปัญหาดังกล่าว จึงได้มีการจัดทำแผนด้านการดูแลสุขภาพของประชาชนในตำบล โดยเฉพาะกลุ่มเด็กปฐมวัย จึงได้เสนอเรื่องสุขภาพเด็กปฐมวัยเพื่อสนับสนุนให้บุตรหลานได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัย จึงสนับสนุนให้ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรตำบลโคกม่วง มีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนเกษตรกรให้ทำการปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ เอาวิธีการป้องกันและกำจัดพืชศัตรูพืชหลายวิธีประยุตก์ใช้ร่วมกัน เป็นการทดแทนหรือลดปริมาณการใช้สารเคมีให้น้อยลง เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม นำผลผลิตที่ได้มาส่งให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ประกอบอาหารกลางวัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการผลิตให้เกษตรกรลดการใช้สารเคมี
  2. เพื่อสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยและบุคคลทั่วไปได้บริโภคผลผลิตที่ปลอดภัยจากสารพิษ
  3. เพื่อออกข้อกำหนดมาตรฐานผักปลอดภัยของชุมชนโดยชุมชนมีส่วนร่วม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 ชม.ๆละ 300 บาท และค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มแก่กลุ่มเกษตรกรที่เข้าฝึกอบรม จำนวน 20คนๆละ 1 มื้อๆละ 25 บาท
  2. ค่าตอบแทนกรรมการตรวจรับรองคณะ จำนวน2ครั้ง/แปลง แปลงละ 60 บาท/ครั้ง/แปลง รวม 20 แปลง
  3. ค่าตอบแทนการตรวจสารพิษตกค้าง จำนวน 20 ตัวอย่าง ๆ ละ 50 บาท/ ตัวอย่าง ค่าน้ำยาชุดทดสอบย่าฆ่าแมลงตกล้าง (TM KIT) 1 ชุด
  4. จัดทำเวทีประชาคม การออกข้อกำหนดมาตรฐานผักปลอดภัยชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 300
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกษตรกรทำการผลิตผักปลอดภัยจากสารพิษ 2.ผู้บริโภคได้บริโภคผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดภัยจากสารพิษ 3.มีมาตรฐานผักปลอดภัยของชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าตอบแทนการตรวจสารพิษตกค้าง จำนวน 20 ตัวอย่าง ๆ ละ 50 บาท/ ตัวอย่าง ค่าน้ำยาชุดทดสอบย่าฆ่าแมลงตกล้าง (TM KIT) 1 ชุด

วันที่ 4 มกราคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ค่าอุปกรณ์ทดสอบสารเคมี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลิต  ที่ได้จากเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการยังไมได้มีการจัดส่งให้กับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เนื่องจากจำต้องดำเนินการในส่วนของการตรวจรับรับรองแปลง ให้แล้วเสร็จ และต้องวางแนวทางการจัดหาวัถุดิบประกอบอาหารของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งมีการดำเนินการจัดซื้อจัดจาง ตามระเบียบของทางราชการ ผลลัพธ์ หลังจากมีการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการชุมชนที่นำไปสู้ภาวะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น โดยมีข้อมูลอ้างอิงประกอบรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อ แบบสรุปการประเมินความรู้ รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบาย

 

20 0

2. จัดทำเวทีประชาคม การออกข้อกำหนดมาตรฐานผักปลอดภัยชุมชน

วันที่ 8 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ค่าจัดทำกิจกรรม เวทีประชาคม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลิต  ที่ได้จากเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการยังไมได้มีการจัดส่งให้กับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เนื่องจากจำต้องดำเนินการในส่วนของการตรวจรับรับรองแปลง ให้แล้วเสร็จ และต้องวางแนวทางการจัดหาวัถุดิบประกอบอาหารของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งมีการดำเนินการจัดซื้อจัดจาง ตามระเบียบของทางราชการ ผลลัพธ์ หลังจากมีการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการชุมชนที่นำไปสู้ภาวะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น โดยมีข้อมูลอ้างอิงประกอบรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อ แบบสรุปการประเมินความรู้ รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบาย

 

60 0

3. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 ชม.ๆละ 300 บาท และค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มแก่กลุ่มเกษตรกรที่เข้าฝึกอบรม จำนวน 20คนๆละ 1 มื้อๆละ 25 บาท

วันที่ 28 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ค่าวิทยากร ค่าอาหารกลางวัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลิต  ที่ได้จากเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการยังไมได้มีการจัดส่งให้กับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เนื่องจากจำต้องดำเนินการในส่วนของการตรวจรับรับรองแปลง ให้แล้วเสร็จ และต้องวางแนวทางการจัดหาวัถุดิบประกอบอาหารของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งมีการดำเนินการจัดซื้อจัดจาง ตามระเบียบของทางราชการ ผลลัพธ์ หลังจากมีการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการชุมชนที่นำไปสู้ภาวะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น โดยมีข้อมูลอ้างอิงประกอบรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อ แบบสรุปการประเมินความรู้ รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบาย

 

20 0

4. ค่าตอบแทนกรรมการตรวจรับรองคณะ จำนวน2ครั้ง/แปลง แปลงละ 60 บาท/ครั้ง/แปลง รวม 20 แปลง

วันที่ 7 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ค่าตอบแทนกรรมการทดสอบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลิต  ที่ได้จากเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการยังไมได้มีการจัดส่งให้กับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เนื่องจากจำต้องดำเนินการในส่วนของการตรวจรับรับรองแปลง ให้แล้วเสร็จ และต้องวางแนวทางการจัดหาวัถุดิบประกอบอาหารของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งมีการดำเนินการจัดซื้อจัดจาง ตามระเบียบของทางราชการ ผลลัพธ์ หลังจากมีการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการชุมชนที่นำไปสู้ภาวะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น โดยมีข้อมูลอ้างอิงประกอบรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อ แบบสรุปการประเมินความรู้ รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบาย

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

เกษตรมรการปรับเปลี่ยนในการผลิต เช่น การใช้สารชีวภัณฑ์ในการป้องกัน กำจัดแมลงศัตรูพืช การใช้กับดักธรรมชาติ การปลูกผักกางมุ้ง ปัญหา/อุปสรรค การจัดส่งผัก ที่เป็นวัถตุดิบในการประกอบอาหารของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ยังไม่สารถดำเนินการได้ สาเหตุ เพราะ การจัดหาวัตถุดิบประกิบอาหารของศูนย์พัฒนาการเด็กเล็ก ซึ่งมีการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง ตามระเบียบของทางราชการ แนวทางแก้ไข ประสานผุ้รับจ้าง ของแต่ละศูนย์พํมนาเด็กเล็ก ให้รับซื้อผลผลิตจากเกษตรกรในพื้นที่ ที่เข้าร่วมโครงการ จัดส่งให้กับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการผลิตให้เกษตรกรลดการใช้สารเคมี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพิษของสารเคมีทางการเกษตร และลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร ีร้อยละ 70 ของแปลงผลิตของเกษตรกรที่สมัครเข้าร่วมโครงการได้ผ่านรับรองมาตรฐานผักปลอดภัยชุมชน

เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารพิษของสารเคมี ทางการเกษตร สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้สารเคมีในกระบวนการผลิต โดยใช้สารทดแทนและปรับเปลี่ยน วิธีการผลิต

2 เพื่อสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยและบุคคลทั่วไปได้บริโภคผลผลิตที่ปลอดภัยจากสารพิษ
ตัวชี้วัด : ผลผลิ่ตทางการเกษตรที่ใช้เป็นวัตถุดิบในการปรุงอาหาร มีความปลอดภัยจากสารพิษมีค่าไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานชุมชน

จากการตรวจสอบวัตถุดิบในการปรุงอาหาร ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งเป็นวัตถุดิบที่ได้มีการจัดหาจากท้องตลาด พบว่าผลการตรวจสอบสารเคมีตกค้าง

3 เพื่อออกข้อกำหนดมาตรฐานผักปลอดภัยของชุมชนโดยชุมชนมีส่วนร่วม
ตัวชี้วัด : มีข้อกำหนดมาตรฐานผักปลอดภัยของชุมชน

จากการดำเนินกิจกรรมโครงการ มีการจัดข้อกำหนดมาตรฐานผัก ปลอดภัย ระบบชุมชนรับรอง PGS แบบประเมินตรวจประเมินแปลงที่ใช้เโครงการ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 320
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 300
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการผลิตให้เกษตรกรลดการใช้สารเคมี (2) เพื่อสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยและบุคคลทั่วไปได้บริโภคผลผลิตที่ปลอดภัยจากสารพิษ (3) เพื่อออกข้อกำหนดมาตรฐานผักปลอดภัยของชุมชนโดยชุมชนมีส่วนร่วม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 ชม.ๆละ 300 บาท และค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มแก่กลุ่มเกษตรกรที่เข้าฝึกอบรม จำนวน 20คนๆละ 1 มื้อๆละ 25 บาท  (2) ค่าตอบแทนกรรมการตรวจรับรองคณะ จำนวน2ครั้ง/แปลง แปลงละ 60 บาท/ครั้ง/แปลง รวม 20 แปลง (3) ค่าตอบแทนการตรวจสารพิษตกค้าง จำนวน 20 ตัวอย่าง ๆ ละ 50 บาท/ ตัวอย่าง ค่าน้ำยาชุดทดสอบย่าฆ่าแมลงตกล้าง (TM KIT) 1 ชุด  (4) จัดทำเวทีประชาคม การออกข้อกำหนดมาตรฐานผักปลอดภัยชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมนูญ สุขรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด