กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลทรายขาว อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นายซอบรี มณีหิยา




ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลทรายขาว อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ L2977-68-01-04 เลขที่ข้อตกลง 004

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทรายขาว อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทรายขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทรายขาว อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ L2977-68-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,965.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทรายขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาที่ในแต่ละปีจะมีประชาชนป่วยเป็นจำนวนมาก เพราะการติดต่อและแพร่ระบาดของโรครวดเร็วขึ้น และมีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของประชาชนในชุมชนในแง่การเจ็บไข้ได้ป่วยการพิการและการเสียชีวิตของประชาชน เนื่องจากความรุนแรงของโรค ซึ่งประชาชนมีโอกาสหรือความเสี่ยงที่จะเกิดโรคและภัยสุขภาพด้วยกันทุกคน โดยประชาชนจะต้องทราบถึงสาเหตุและแนวทางป้องกันโรคที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เพื่อให้ระมัดระวังและป้องกันปัจจัยเสี่ยงต่อโรค โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ เป็นต้น การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชนในพื้นที่จะต้องรวดเร็ว ทันเหตุการณ์ จึงจะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อสุขภาพ ภายใต้การมีส่วนร่วมจากภาคท้องถิ่นและภาคประชาชน วางแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ในทุกระดับ เพื่อช่วยกันค้นหาปัญหาจึงจะสามารถแก้ไขที่ต้นเหตุของปัญหาของการเกิดโรคได้ ซึ่งข้อมูลสถานการณ์โรคไข้เลือดออกมีเกิดขึ้นคลอบคลุมไปทุกจังหวัดปัตตานีและที่สำคัญข้อมูลจำนวนโรคไข้เลือดออกในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทรายขาวที่ผ่านมา ตั้งแต่ ๑ มกราคม ๒๕๖7 – 31 ธันวาคม ๒๕๖7 พบว่าประชาชนในพื้นที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 68 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 1,606.80 ต่อประชากรแสนประชากร (ประชากรทั้งหมด 4,232 คน) (เกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้ อัตราป่วยทั้งปี ไม่ควรเกิน 50 ต่อประชากรแสนคน) จากข้อมูลสถานการณ์โรคไข้เลือดออกข้างต้นนั้น จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าเป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพของประชาชน สร้างผลกระทบต่อฐานะทางเศรษฐกิจการประกอบอาชีพของผู้ป่วยและครอบครัว รวมถึงส่งผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายทางภาครัฐด้านการรักษาพยาบาลส่งผลให้เกิดความสูญเสียมากมายต่อเศรษฐกิจ สังคมของประเทศตามลำดับนั้น ดังนั้นการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพนี้จึงต้องได้รับการแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องต่อไปเพื่อลดผลกระทบจากโรคที่เกิดขึ้นนี้ไม่ให้แพร่กระจาย และไม่ให้เป็นปัญหาในพื้นที่จึงมีความจำเป็นต้องอาศัยหน่วยงานภาคีเครือข่ายในพื้นที่ในการปฏิบัติงานป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่ดังกล่าวอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา พร้อมทั้งประสานการดำเนินงานให้สามารถควบคุมการระบาดให้สงบได้อย่างรวดเร็วอย่างทันท่วงที ตลอดจนการพัฒนาองค์ความรู้ให้กับทรัพยากรในชุมชน และเทคโนโลยี เกี่ยวกับการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ทั้งในระดับปัจเจกบุคคล ครอบครัวและชุมชนให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทรายขาวได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้จัดทำโครงการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกนี้ขึ้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคดังกล่าวที่เป็นปัญหาในพื้นที่ตลอดจนนำไปสู่การ มีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนในพื้นที่อย่างถ้วนหน้าต่อไป จึงขอนำเสนอโครงการดังกล่าวมาเพื่อพิจารณา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างเสริมความรู้ ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการปฏิบัติการพ่นหมอกควันให้แก่ทีมปฏิบัติการพ่นหมอกควันชุมชน
  2. เพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ให้ประชาชนมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังไข้เลือดออกที่ถูกต้อง
  3. เพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน
  4. เพื่อลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายของหลังคาเรือนให้มีค่า HI และ CI ไม่เกิน 10

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ฯ
  2. กิจกรรมพ่นหมอกควันในสถานศึกษาในเขตรับผิดชอบ
  3. กิจกรรมควบคุม ป้องกันและเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในเขตรับผิดชอบ
  4. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ทีมปฏิบัติการพ่นหมอกควันชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 159
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทีมปฏิบัติการพ่นหมอกควันชุมชนได้มีความรู้ความเข้าใจและทักษะในการปฏิบัติการพ่นหมอกควันสามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพได้
  2. ประชาชนมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังไข้เลือดออก สามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้องได้
    1. ชุมชนและหน่วยงานทุกภาคส่วนมีความตระหนักถึงอันตรายของยุงลายและโรคไข้เลือดออกและ มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกได้
    2. ความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายของหลังคาเรือนให้มีค่า HI และ CI ไม่เกิน 10 ได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างเสริมความรู้ ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการปฏิบัติการพ่นหมอกควันให้แก่ทีมปฏิบัติการพ่นหมอกควันชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของทีมปฏิบัติการพ่นหมอกควันชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติการพ่นหมอกควัน
0.00

 

2 เพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ให้ประชาชนมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังไข้เลือดออกที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในโครงการ
0.00

 

3 เพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังไข้เลือดออกสามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง
0.00

 

4 เพื่อลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายของหลังคาเรือนให้มีค่า HI และ CI ไม่เกิน 10
ตัวชี้วัด : ดัชนีลูกน้ำยุงลายค่า HI < 10 ค่า CI = 0
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 159
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 159
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างเสริมความรู้ ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการปฏิบัติการพ่นหมอกควันให้แก่ทีมปฏิบัติการพ่นหมอกควันชุมชน (2) เพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ให้ประชาชนมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังไข้เลือดออกที่ถูกต้อง (3) เพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน (4) เพื่อลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายของหลังคาเรือนให้มีค่า HI และ CI ไม่เกิน 10

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ฯ (2) กิจกรรมพ่นหมอกควันในสถานศึกษาในเขตรับผิดชอบ (3) กิจกรรมควบคุม ป้องกันและเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในเขตรับผิดชอบ (4) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ทีมปฏิบัติการพ่นหมอกควันชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ L2977-68-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายซอบรี มณีหิยา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด