โครงการครอบครัวสัมพันธ์ในเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ตำบลไพรวัน ประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการครอบครัวสัมพันธ์ในเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ตำบลไพรวัน ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางกานดา ชอบเอียด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการครอบครัวสัมพันธ์ในเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ตำบลไพรวัน ประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2486-3-03 เลขที่ข้อตกลง 17/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการครอบครัวสัมพันธ์ในเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ตำบลไพรวัน ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการครอบครัวสัมพันธ์ในเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ตำบลไพรวัน ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการครอบครัวสัมพันธ์ในเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ตำบลไพรวัน ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2486-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,362.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเกิดขึ้นเป็นอย่างมาก อันเป็นผลพวงมาจากการพัฒนาประเทศตามแนวคิดการพัฒนากระแสหลักหรือการพัฒนาที่เดินทางตามการชี้นำของประเทศตะวันตกทำให้ทุกคนของสังคมพลอยถูกขับเคลื่อน หรือบางส่วนอาจเข้าข่ายการถูกฉุดดึงไปตามกระแสการพัฒนาด้วย สถาบันครอบครัวไทยเป็นส่วนหนึ่งที่ถูกเชื่อมโยงเข้ากับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เกิดขึ้น การพัฒนาตามแนวคิดการพัฒนากระแสหลักให้ความสำคัญกับการสร้างความมั่งคั่งร่ำรวย หรือความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เน้นการพัฒนาแบบแยกส่วน ทำให้เกิดกระบวนการดึงคนออกมาจากครอบครัว แยกพ่อแม่ ลูกหลาน ปู่ย่าตายาย ออกจากกัน
ผลการพัฒนานั้นแม้จะทำให้ครอบครัวไทยมีภาวะทางเศรษฐกิจที่ดีขึ้น มีความสุขสบายด้านวัตถุมากขึ้น แต่ความสัมพันธ์ภายในครอบครัวที่เคยแนบแน่นและอบอุ่นที่เริ่มเลือนหายไป เปลี่ยนแปลงเป็นความสัมพันธ์ที่ไม่แนบแน่นดังก่อน ความผูกพันในเชิงอารมณ์และความรู้สึกมีค่อนข้างน้อย คนในครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกันน้อยลง พ่อแม่มีหน้าที่แสวงหาทรัพย์สินเงินทอง และวัตถุเพื่อมาเลี้ยงดูปรนเปรอความสุขให้ลูก ส่วนลูกซึ่งต้องทำหน้าที่เรียนหนังสือ ก็ถูกวัฒนธรรมต่างชาติและอบายมุขชักจูงไปในทางที่เสื่อมเสีย การเติบโตเป็นผู้ใหญ่เป็นไปตามยถากรรม เด็กๆเรียนรู้ชีวิตด้วยตนเองจากสังคมนอกบ้านมากกว่าสังคมในบ้านสภาพการณ์เช่นนี้หลายคนมองว่าสถาบันครอบครัวไทยกำลังตกต่ำอยู่ในสภาพใกล้ล่มสลาย ไม่มีความเป็นครอบครัวเหลืออยู่
ซึ่งครอบครัวเองไม่สามารถยับยั้ง หรือผ่อนคลายปัญหาได้ ทุกคนได้แต่คอยเรียกร้องให้คนนอก ไม่ว่าจะเป็น ครู อาจารย์ เจ้าหน้าที่รัฐ หรือแม้แต่รัฐบาลให้เข้ามาช่วยจัดการแก้ไขปัญหาครอบครัว
ไม่ว่าจะมองเรื่องนี้กันอย่างไร สังคมทำให้สถาบันครอบครัวเกิดปัญหา หรือสถาบันครอบครัวกลายเป็นปัญหาของสังคม แต่สิ่งที่คนในสังคมไทยเวลานี้เห็นพ้องร่วมกันก็คือสังคมต้องให้ความสำคัญกับสถาบันครอบครัวให้มากขึ้น ต้องทำความเข้าใจครอบครัวที่อยู่ท่ามกลางกระแสพายุของการเปลี่ยนแปลงให้มากขึ้น ทุกวันนี้แม้แต่เราเติบโตจากครอบครัวแต่เราก็แทบจะไม่รู้จักครอบครัวอย่างแท้จริง เพราะขาดข้อมูลที่ลึกซึ้ง น่าเชื่อถือเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในสถาบันครอบครัวให้สามารถอ้างอิงเผยแพร่ได้
โดยองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของสถาบันครอบครัว จึงได้จัดทำโครงการครอบครัวสัมพันธ์ โดยมีการจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาในการเลี้ยงดูเด็กเล็ก กิจกรรมสร้างความรักความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองและเด็ก มีกิจกรรมก่อสร้างสุข กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมวาดภาพสร้างสรรค์จินตนาการ กิจกรรมฟังนิทานสร้างวินัย กิจกรรมเล่นเต้นสร้างความสนุกกิจกรรมสมาธิสร้างความสบาย และกิจกรรมชมสร้างความภาคภูมิใจ สำหรับผู้ปกครองและเด็ก ถือเป็นการสร้างความสัมพันธ์ ความรัก ความเข้าใจของคนในครอบครัว ทำให้ครอบครัวมีความเข้มแข็ง เด็กๆเติบโตขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้สังคมไทยมีแต่ความเจริญต่อไปในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ ผู้ปกครองเสริมสร้างสุขภาพจิตสร้างความรักความสัมพันธ์ต่อลูกอย่างถูกวิธี
2. เพื่อให้ ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองและ ใช้เวลาร่วมกันในการสร้างความสัมพันธ์เด็ก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
111
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ครอบครัวมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
- ครอบครัว พ่อ แม่ ลูกได้ใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพ
- องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นศูนย์กลางในการพัฒนาสถาบันครอบครัวในชุมชนให้มีความเข้มแข็ง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ ผู้ปกครองเสริมสร้างสุขภาพจิตสร้างความรักความสัมพันธ์ต่อลูกอย่างถูกวิธี
2. เพื่อให้ ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองและ ใช้เวลาร่วมกันในการสร้างความสัมพันธ์เด็ก
ตัวชี้วัด : - ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจในการเสริมสร้างสุขภาพจิตต่อลูกอย่างถูกวิธี ร้อยละ 80
- ครู ผู้ดูแลเด็กผู้ปกครองและแม่บ้าน มีความรู้ความเข้าใจในการสร้างความสัมพันธ์ต่อเด็กอย่างถูกวิธี ร้อยละ 80
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
111
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
111
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ ผู้ปกครองเสริมสร้างสุขภาพจิตสร้างความรักความสัมพันธ์ต่อลูกอย่างถูกวิธี
2. เพื่อให้ ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองและ ใช้เวลาร่วมกันในการสร้างความสัมพันธ์เด็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการครอบครัวสัมพันธ์ในเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ตำบลไพรวัน ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2486-3-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางกานดา ชอบเอียด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการครอบครัวสัมพันธ์ในเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ตำบลไพรวัน ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางกานดา ชอบเอียด
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2486-3-03 เลขที่ข้อตกลง 17/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการครอบครัวสัมพันธ์ในเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ตำบลไพรวัน ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการครอบครัวสัมพันธ์ในเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ตำบลไพรวัน ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการครอบครัวสัมพันธ์ในเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ตำบลไพรวัน ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2486-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,362.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเกิดขึ้นเป็นอย่างมาก อันเป็นผลพวงมาจากการพัฒนาประเทศตามแนวคิดการพัฒนากระแสหลักหรือการพัฒนาที่เดินทางตามการชี้นำของประเทศตะวันตกทำให้ทุกคนของสังคมพลอยถูกขับเคลื่อน หรือบางส่วนอาจเข้าข่ายการถูกฉุดดึงไปตามกระแสการพัฒนาด้วย สถาบันครอบครัวไทยเป็นส่วนหนึ่งที่ถูกเชื่อมโยงเข้ากับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เกิดขึ้น การพัฒนาตามแนวคิดการพัฒนากระแสหลักให้ความสำคัญกับการสร้างความมั่งคั่งร่ำรวย หรือความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เน้นการพัฒนาแบบแยกส่วน ทำให้เกิดกระบวนการดึงคนออกมาจากครอบครัว แยกพ่อแม่ ลูกหลาน ปู่ย่าตายาย ออกจากกัน ผลการพัฒนานั้นแม้จะทำให้ครอบครัวไทยมีภาวะทางเศรษฐกิจที่ดีขึ้น มีความสุขสบายด้านวัตถุมากขึ้น แต่ความสัมพันธ์ภายในครอบครัวที่เคยแนบแน่นและอบอุ่นที่เริ่มเลือนหายไป เปลี่ยนแปลงเป็นความสัมพันธ์ที่ไม่แนบแน่นดังก่อน ความผูกพันในเชิงอารมณ์และความรู้สึกมีค่อนข้างน้อย คนในครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกันน้อยลง พ่อแม่มีหน้าที่แสวงหาทรัพย์สินเงินทอง และวัตถุเพื่อมาเลี้ยงดูปรนเปรอความสุขให้ลูก ส่วนลูกซึ่งต้องทำหน้าที่เรียนหนังสือ ก็ถูกวัฒนธรรมต่างชาติและอบายมุขชักจูงไปในทางที่เสื่อมเสีย การเติบโตเป็นผู้ใหญ่เป็นไปตามยถากรรม เด็กๆเรียนรู้ชีวิตด้วยตนเองจากสังคมนอกบ้านมากกว่าสังคมในบ้านสภาพการณ์เช่นนี้หลายคนมองว่าสถาบันครอบครัวไทยกำลังตกต่ำอยู่ในสภาพใกล้ล่มสลาย ไม่มีความเป็นครอบครัวเหลืออยู่ ซึ่งครอบครัวเองไม่สามารถยับยั้ง หรือผ่อนคลายปัญหาได้ ทุกคนได้แต่คอยเรียกร้องให้คนนอก ไม่ว่าจะเป็น ครู อาจารย์ เจ้าหน้าที่รัฐ หรือแม้แต่รัฐบาลให้เข้ามาช่วยจัดการแก้ไขปัญหาครอบครัว ไม่ว่าจะมองเรื่องนี้กันอย่างไร สังคมทำให้สถาบันครอบครัวเกิดปัญหา หรือสถาบันครอบครัวกลายเป็นปัญหาของสังคม แต่สิ่งที่คนในสังคมไทยเวลานี้เห็นพ้องร่วมกันก็คือสังคมต้องให้ความสำคัญกับสถาบันครอบครัวให้มากขึ้น ต้องทำความเข้าใจครอบครัวที่อยู่ท่ามกลางกระแสพายุของการเปลี่ยนแปลงให้มากขึ้น ทุกวันนี้แม้แต่เราเติบโตจากครอบครัวแต่เราก็แทบจะไม่รู้จักครอบครัวอย่างแท้จริง เพราะขาดข้อมูลที่ลึกซึ้ง น่าเชื่อถือเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในสถาบันครอบครัวให้สามารถอ้างอิงเผยแพร่ได้ โดยองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของสถาบันครอบครัว จึงได้จัดทำโครงการครอบครัวสัมพันธ์ โดยมีการจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาในการเลี้ยงดูเด็กเล็ก กิจกรรมสร้างความรักความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองและเด็ก มีกิจกรรมก่อสร้างสุข กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมวาดภาพสร้างสรรค์จินตนาการ กิจกรรมฟังนิทานสร้างวินัย กิจกรรมเล่นเต้นสร้างความสนุกกิจกรรมสมาธิสร้างความสบาย และกิจกรรมชมสร้างความภาคภูมิใจ สำหรับผู้ปกครองและเด็ก ถือเป็นการสร้างความสัมพันธ์ ความรัก ความเข้าใจของคนในครอบครัว ทำให้ครอบครัวมีความเข้มแข็ง เด็กๆเติบโตขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้สังคมไทยมีแต่ความเจริญต่อไปในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ ผู้ปกครองเสริมสร้างสุขภาพจิตสร้างความรักความสัมพันธ์ต่อลูกอย่างถูกวิธี 2. เพื่อให้ ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองและ ใช้เวลาร่วมกันในการสร้างความสัมพันธ์เด็ก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 111 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ครอบครัวมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
- ครอบครัว พ่อ แม่ ลูกได้ใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพ
- องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นศูนย์กลางในการพัฒนาสถาบันครอบครัวในชุมชนให้มีความเข้มแข็ง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ ผู้ปกครองเสริมสร้างสุขภาพจิตสร้างความรักความสัมพันธ์ต่อลูกอย่างถูกวิธี
2. เพื่อให้ ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองและ ใช้เวลาร่วมกันในการสร้างความสัมพันธ์เด็ก ตัวชี้วัด : - ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจในการเสริมสร้างสุขภาพจิตต่อลูกอย่างถูกวิธี ร้อยละ 80 - ครู ผู้ดูแลเด็กผู้ปกครองและแม่บ้าน มีความรู้ความเข้าใจในการสร้างความสัมพันธ์ต่อเด็กอย่างถูกวิธี ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 111 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 111 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ ผู้ปกครองเสริมสร้างสุขภาพจิตสร้างความรักความสัมพันธ์ต่อลูกอย่างถูกวิธี
2. เพื่อให้ ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองและ ใช้เวลาร่วมกันในการสร้างความสัมพันธ์เด็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการครอบครัวสัมพันธ์ในเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ตำบลไพรวัน ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2486-3-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางกานดา ชอบเอียด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......