โครงการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน อารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน อารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข |
รหัสโครงการ | 68-L1485-1-09 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะเหลียน |
วันที่อนุมัติ | 13 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 12 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 17,790.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวสุรัญญา เอียดฤทธิ์ ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.288,99.862place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากการสำรวจสถานการณ์ปัญหาสุขภาพสุขภาพของประชาชนในชุมชนพบว่าปัญหาสุขภาพ การมีดัชนีมวลกายสูง เช่น จำพวกเบาหวาน ความดัน ไขมัน ละเลยต่อการตรวจสุขภาพปัญหาสำคัญ คือ 1.บกพร่องความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเอง 2. ขาดแรงจูงใจและการสนับสนุนจากผู้นำชุมชน 3. ปัญหาในเรื่องอุปสรรคและวัฒนธรรมจึงต้องมีการเสริมสร้างพลังอำนาจในการแก้ไขปัญหาเหล่านั้นการให้ความรู้กับการดูแลสุขภาพร่วมกับการทำกิจกรรมเพื่อสุขภาพในหมู่บ้าน องค์ประกอบพื้นฐานได้แก่ความเจ็บป่วยเรื้อรังป้องกันได้โดยพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม การออกกำลังกายการพักผ่อนหย่อนใจเพื่อคลายเครียดการกินอาหารที่มีประโยชน์การตรวจโรคด้วยตนเองเป็นต้นการออกกำลังกายทำให้ร่างกายสดชื่นอารมณ์ดี ลดความตึงเครียดนอนหลับได้ดีและมีผลต่อสังคม คือ ช่วยให้มีสัมพันธภาพและมิตรไมตรีต่อกันมีความเอื้ออาทรต่อกันในชุมชนและประชาชนมีสุขภาพที่ดีและให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจรับผิดชอบในการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อนำไปสู่การส่งเสริมด้วยตนเองอย่างยั่งยืนจึงได้มีแนวคิดในการจัดโครงการส่งเสริมสุขภาพประชาชนที่ครอบคลุมเกี่ยวกับการให้ความรู้ ส่งเสริมการตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง การออกกำลังกายทำให้ร่างกายสดชื่น อารมณ์ดี ลดความตึงเครียดและนอนหลับได้ดีและผลดีด้านยสังคม คือ ช่วยให้มีสัมพันธภาพและมิตรไมตรีต่อกัน มีความเอื้ออาทรต่อกันในชุมชน การที่ประชาชนทุกคนมีสุขภาพที่ดีนั้นประชาชนจะต้องพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพได้มากขึ้น จึงควรตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพ ให้บริการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะเหลียน ได้ตระหนักถึงความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน อารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข โดยการผสมผสานการดูแลสุขภาพหลากหลายวิธี เพื่อตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของประชาชน และให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและรับผิดชอบการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อนำไปสู่การส่งเสริมสุขภาพด้วยตนเองที่ยั่งยืน จึงได้มีแนวคิดในการจัดโครงการเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนที่ครอบคลุมเกี่ยวกับการให้ความรู้ ส่งเสริมการตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาพร่างกายของประชาชน
|
||
2 | 2. เพื่อส่งเสริมประชาชนให้มีความตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพและการป้องกันโรค
|
||
3 | 3. เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์ แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บอันไม่พึงปรารถนา
|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1. เพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาพร่างกายของประชาชน |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 2. เพื่อส่งเสริมประชาชนให้มีความตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพและการป้องกันโรค |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : 3. เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์ แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บอันไม่พึงปรารถนา |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้
- ประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องฯ และเครือข่าย เพื่อกำหนดแนวทางในการดำเนินการ
- เขียนโครงการฯและขออนุมัติโครงการ
- นำเสนอโครงการขอรับการสนับสนุนงบประมาณดำเนินการฯ
- ดำเนินกิจกรรมโครงการฯ
- จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ - บรรยายให้ความรู้ การควบคุมพัฒนาพฤติกรรมเพื่อสุขภาพและจิตใจที่ดี - บรรยายให้ความรู้ อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนาการที่เหมาะสม - การปฐมพยาบาลเบื้องต้น - อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับนวดแผนไทย 5.สรุปและรายงานผลการดำเนินโครงการ
- ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับวิธีการดูแลสุขภาพ การจัดการความเครียด อาหาร/โภชนาการ การปฐมพยาบาล การนวดบรรเทาปวดและการป้องกันโรคต่างๆ
- ประชาชนมีความตระหนักในความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันโรคมากขึ้น
- ประชาชนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นในครอบครัวและสามารถช่วยเหลือผู้อื่นได้ในยามฉุกเฉิน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 มี.ค. 2568 14:30 น.