โครงการใส่ใจสุขภาพ ห่างไกลโรคเรื้อรัง
ชื่อโครงการ | โครงการใส่ใจสุขภาพ ห่างไกลโรคเรื้อรัง |
รหัสโครงการ | 68-L1485-1-13 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ้าพะ |
วันที่อนุมัติ | 13 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 12 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 13,450.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | น.ส.สูตินุช เพชรหิน ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.288,99.862place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ในปัจจุบันนี้ แม้การแพทย์จะสามารถเอาชนะโรคร้ายต่างๆมากมาย ทำให้ประชากรโลกรอดพ้นจากการเจ็บป่วยและมีอายุยืนยาวขึ้น แต่จำนวนคนที่เป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมัน โรคหัวใจและหลอดเลือด กลับมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ปัจจัยสำคัญที่เชื่อว่าเป็นสาเหตุของโรคเรื้อรังเหล่านี้คือพฤติกรรมในการดำเนินชีวิตของบุคคลขาดความสมดุล เช่น การรับประทานอาหารไขมันสูง อาหารรสหวานจัดและเค็มจัด ไม่รับประทานผัก ผลไม้ ไม่ออกกำลังกาย การใช้ชีวิตที่สะดวกสบายเกินไป และการใช้สารเสพติด เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีการระบุว่าความเครียดในชีวิต ยังเป็นปัจจัยร่วมที่ทำให้เกิดโรคเรื้อรังได้ คนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง คือ ผู้มีภาวะอ้วน ผู้มีคลอเรสเตอรอลสูง ผู้มีอายุเกิน ๓๕ ปี ผู้ที่ขาดการออกกำลังกาย และผู้ที่มีภาวะความเครียดสูง (พนิดา วสุธาพิทักษ์,2555)
จากข้อมูลการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ้าพะ ปี 2567 ในประชากร 35 ปี ขึ้นไป จำนวน 584 คน พบว่ามีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 5.99 มีภาวะเสี่ยงต่อความดันโลหิตสูง จำนวน 105 คน คิดเป็นร้อยละ 17.97
จากสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ้าพะ จึงได้จัดทำโครงการ ใส่ใจสุขภาพ ห่างไกลโรคเรื้อรัง เพื่อประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างยั่งยืนต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง มีความรู้ความเข้าใจในแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ
|
||
2 | 2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อชะลอภาวะการเกิดโรค
|
||
3 | 3. เพื่อลดผู้ป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวาน ไม่เกิน ร้อยละ 5 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ลดลงจากปีงบประมาณที่ผ่านมา ไม่เกิน ร้อยละ 2.5
|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง มีความรู้ความเข้าใจในแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อชะลอภาวะการเกิดโรค |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : 3. เพื่อลดผู้ป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวาน ไม่เกิน ร้อยละ 5 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ลดลงจากปีงบประมาณที่ผ่านมา ไม่เกิน ร้อยละ 2.5 |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้
- ประชุมชี้แจงแนวทางการจัดทำโครงการใส่ใจสุขภาพ ห่างไกลโรคเรื้อรัง แก่ผู้รับผิดชอบและผู้เกี่ยวข้อง
- ขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง
3. อบรมให้ความรู้เรื่อง ๓อ ๒ส แก่กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน
- กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ติดตามวัดความดันที่บ้าน โดย อสม.และบันทึกผลค่าความดันโลหิต ในสมุดบันทึกพฤติกรรมสุขภาพ เป็นเวลา 7 วัน
- กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ติดตามตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด โดย อสม.และบันทึกค่าระดับน้ำตาลในเลือด ในสมุดบันทึกพฤติกรรมสุขภาพ 2 เดือน/ครั้ง 6.สรุปรายงานและผลการประเมิน พร้อมทั้งจัดทำเอกสาร เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ
- ขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง
3. อบรมให้ความรู้เรื่อง ๓อ ๒ส แก่กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน
1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ มีทักษะที่เหมาสม และเป็นแบบอย่างในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชนในการป้องกันและควบคุมไม่ให้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมอง และโรคอ้วนลงพุงได้ 2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องกันป้องกันตนเอง เพื่อชะลอการเกิดโรค 3. ไม่เกิดผู้ป่วยรายใหม่ในรพสต.ในปีงบประมาณ 2568
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 มี.ค. 2568 15:31 น.