กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางสาวสูตินุช เพชรหิน ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ




ชื่อโครงการ โครงการอบรมการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน

ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L1485-1-15 เลขที่ข้อตกลง 14/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1485-1-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวาน เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญ เนื่องจากเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังของระบบต่อมไร้ท่อที่พบได้บ่อยและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของหลายประเทศและอัตราความชุกของโรคมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้และมีปัจจัยสนับสนุนด้านพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม การขาดการออกกำลังกาย ภาวะเครียด ประกอบกับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ช่วยให้คนมีชีวิตยืนยาวขึ้น ซึ่งองค์การอนามัยโลกได้ประมาณว่ามีผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานอย่างน้อย 135 ล้านคนทั่วโลก โดยเฉพาะผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 พบร้อยละ 97 และทำนายว่าความชุกของโรคเบาหวานจะเพิ่มขึ้นเป็น 300 ล้านคนในปี ค.ศ. 2025 และในจำนวนนั้นจะมีมากกว่า 150 ล้านคนที่อยู่ในทวีปเอเซีย ซึ่งจะเพิ่มขึ้นจากปัจจุบันเกือบ 2 เท่า สำหรับประเทศไทยและประเทศทางแถบเอเซียนั้นผู้เป็นเบาหวานร้อยละ 99 เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 (เทพ หิมะทองคำ และคณะ, 2544) ความผิดปกติที่เท้าเป็นภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญอย่างหนึ่งที่เกิดจากการเสื่อมของเส้นประสาทและหลอดเลือด ทำให้อัตราความเร็วในการนำสัญญาณประสาทลดลง ความไวของผิวหนังต่อการรับรู้สัมผัสลดลงหรือหายไป (กิตติ อังศุสิงห์, 2533) ซึ่งการเสื่อมของหลอดเลือดและเส้นประสาทมักปรากฏอาการมากที่เท้า ทำให้การรับรู้ความรู้สึกบริเวณเท้าลดลง เกิดอาการชา  เมื่อผู้ป่วยเดินสะดุดของแข็งหรือเหยียบของมีคมจึงไม่รู้สึกตัว เกิดเป็นแผลง่าย นอกจากนี้ยังทำให้เลือดไปเลี้ยงเท้าน้อยลง เกิดการขาดเลือดกลายเป็นเนื้อตายได้ เมื่อเกิดการติดเชื้อที่แผลขึ้นร่วมกับการที่ผู้ป่วยไม่ได้ดูแลใส่ใจเท้าเป็นพิเศษ ทำให้ผู้ป่วยเบาหวานมีโอกาสถูกตัดขาได้เนื่องจากเกิดแผลเนื้อตายที่เท้ามากกว่าคนปกติถึง 40 เท่า(เทพ หิมะทองคำ และคณะ, 2544)
จากการศึกษาปรากฏการณ์พบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานมีพฤติกรรมการดูแลเท้าไม่เหมาะสมในเรื่อง การดูแลและรักษาความสะอาดของผิวหนัง ได้แก่ ไม่ได้ทำความสะอาดเท้าอย่างทั่วถึงทุกส่วน และไม่ทำทุกวัน การไม่ได้ตรวจเท้าหาความผิดปกติ การป้องกันการเกิดแผลที่เท้า ได้แก่การตัดเล็บไม่ถูกต้อง โดยตัดเล็บเท้าสั้นชิดเนื้อและปลายมน และบางคนที่ตัดเล็บเองก็จะใช้ไม้หรือมีด แคะตามซอกเล็บ เมื่อมีเศษดิน สิ่งสกปรก จะใช้ที่ตัดเล็บหรือมีด ตัดหนังหนา ตาปลาของตนเอง ตัดเล็บเท้าโดยไม่ได้ล้างเท้าหรือแช่เท้าให้เล็บอ่อนตัวก่อน  แช่เท้าด้วยน้ำอุ่นหรือน้ำร้อนเมื่อมีอาการเท้าชา หรือเท้าเย็น เหยียบลงพื้นปูนบนถนนที่ร้อน สวมรองเท้าแตะ การส่งเสริมการไหลเวียนเลือด ได้แก่ไม่ได้บริหารเท้า ชอบนั่งไขว่ห้างเป็นเวลานานๆ  การดูแลรักษาบาดแผล ได้แก่เมื่อมีแผลที่เท้าไม่ได้ล้างแผล ทำแผลด้วยแอลกอฮอล์ ทิงเจอร์ไอโอดีน
ด้วยเหตุผลดังกล่าวผู้ศึกษาได้เล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันไม่ให้เกิดแผลที่เท้าซึ่งควรกระทำตั้งแต่เริ่มแรกที่ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานและเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้ ผู้ป่วยจะได้รับการสอน การแนะนำ และ สนับสนุน รวมทั้งการกระตุ้นให้กำลังใจ จากทีมสุขภาพเพื่อคงไว้ซึ่งความพยายามในการดูแลตนเองเมื่อมีภาวะเบี่ยงเบนทางสุขภาพ
จากการประเมินผลการตรวจเท้าผู้ป่วยเบาหวาน ปี 2567 ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 25 คน ผู้ป่วยได้รับการตรวจเท้า 5 คน คิดเป็นร้อยละ 1.25 ซึ่งมีจำนวนน้อยมากที่ได้รับการคิดกรอง ดังนั้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ้าพะ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ ในการตรวจคัดกรองเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน จึงได้จัดทำโครงการอบรมการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.1 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้เรื่องโรคเบาหวานและการเกิดแผลที่เท้า
  2. 1.2 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลเท้า
  3. 1.3 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีพฤติกรรมการดูแลเท้าที่ถูกต้องทั้ง 5 ด้าน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวานและการเกิดแผลที่เท้า   2. ผู้ป่วยเบาหวานตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลเท้าและดูแลเท้าได้ด้วยตนเอง   3. ผู้ป่วยเบาหวานมีพฤติกรรมการดูแลเท้าที่ถูกต้องทั้ง 5 ด้าน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.1 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้เรื่องโรคเบาหวานและการเกิดแผลที่เท้า
    ตัวชี้วัด :

     

    2 1.2 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลเท้า
    ตัวชี้วัด :

     

    3 1.3 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีพฤติกรรมการดูแลเท้าที่ถูกต้องทั้ง 5 ด้าน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.1 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้เรื่องโรคเบาหวานและการเกิดแผลที่เท้า (2) 1.2 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลเท้า (3) 1.3 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีพฤติกรรมการดูแลเท้าที่ถูกต้องทั้ง 5 ด้าน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 68-L1485-1-15

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวสูตินุช เพชรหิน ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด