โครงการบูรณาการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกสู่ชุมชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการบูรณาการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกสู่ชุมชน ”
ตำบลบ้านขาว อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวงามศิริ สิงห์คำปอง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านขาว
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกสู่ชุมชน
ที่อยู่ ตำบลบ้านขาว อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5222-1-03 เลขที่ข้อตกลง 03/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบูรณาการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกสู่ชุมชน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านขาว อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกสู่ชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบูรณาการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกสู่ชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านขาว อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5222-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การแพทย์แผนไทย (Thai traditional medicine) เป็นภูมิปัญญาไทยการดูแลรักษาสุขภาพมาเป็นระยะเวลานาน เป็นระบบการแพทย์ที่เกิดจากการเรียนรู้การสั่งสมความรู้ ประสบการณ์การถ่ายทอด และการผสมผสานกับการแพทย์ท้องถิ่นและรบบการแพทย์อื่นเข้ามาสู่สังคมไทย ในสมัยต่าง ๆ จนกลายมาเป็นระบบการแพทย์แผนไทยซึ่งเป็นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมโดยมุ่งเน้นความสมดลของธาตุภายในร่างกายและความสมดุลภายในจิตใจ และยังมีการผสมผสานการดูแลของศาสตร์การแพทย์ทางเลือก (Alternative Medicine) เข้ามาเป็นอีหนึ่งทางเลือกในการดูแลสุขภาพประชาชนอีกด้วย เช่น การกดจุดคลายพังผืด (ผ่าตัดเทียม) การบริหารด้วยศาสตร์มณีเวช
ปัจจุบันทางด้านสาธารณสุขได้เล็งเห็นถึงประโยชน์ทางด้านการแพทย์แผนไทยทางเลือกมากขึ้นและได้สนับสนุนให้ศาสตร์ทางการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเข้ามามีบทบาทในการรักษาโรคตามโรงพยาบาล ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพทั่วประเทศ เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีทางเลือกในการรักษาเพิ่มมากขึ้น แต่เนื่องด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยนั้นได้ถูกลดบทบาทลงไประยะเวลานาน จึงทำให้ประชาชนบางส่วนที่ยังไม่มีโอกาสในการเข้าถึงการรักษาด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยละแพทย์ทางเลือก และพบว่าในปัจจุบันสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุ มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างชัดเจน ซึ่งการเพิ่มขึ้นของประชาการผู้สูงอายุนำไปสู่การเพิ่มขึ้นของประชาการในวัยพึ่งพิง ทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และสุขภาพ ปัญหาที่พบได้บ่อยเกี่ยวกับสุขภาพในผู้อายุคืออาการปวดเมื่อกล้ามเนื้อ ข้อเข่า อวัยวะต่าง ๆ กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง เป็นต้น
ทางคลินิกแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลระโนด มีแนวทางการดูรักษาผู้ป่วยโรคกลุ่มกล้ามเนื้อและกระดูก การดูแลผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ตดต่อเรื้องรัง และระบบอื่น ๆ ด้วยการนาดรักษา ประคบสมุนไพร การแช่ยา การพกยา การสักยา การผ่าตัดเทียม รวมถึงการการจ่ายยาสมุนไพร เป็นต้น ดังนั้นทางคลินิกแพทย์แผนไทยจึงต้องการให้กลุ่มผู้สูงอายุ วัยทำงาน และประชาชนทั่วไปมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก และต้องการให้ประชาชนมีโอกาสเข้าถึงการรับบริการด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกในพื้นที่ง่ายและสะดวกมากขึ้น จึงได้สนใจในการจัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการรับบริการด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การให้ความรู้เกี่ยวกับแนวทางการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนเข้าถึงการรับบริการด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
- ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการรับบริการด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการรับบริการด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การให้ความรู้เกี่ยวกับแนวทางการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการบูรณาการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกสู่ชุมชน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5222-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวงามศิริ สิงห์คำปอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการบูรณาการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกสู่ชุมชน ”
ตำบลบ้านขาว อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวงามศิริ สิงห์คำปอง
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบ้านขาว อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5222-1-03 เลขที่ข้อตกลง 03/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบูรณาการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกสู่ชุมชน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านขาว อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกสู่ชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบูรณาการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกสู่ชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านขาว อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5222-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การแพทย์แผนไทย (Thai traditional medicine) เป็นภูมิปัญญาไทยการดูแลรักษาสุขภาพมาเป็นระยะเวลานาน เป็นระบบการแพทย์ที่เกิดจากการเรียนรู้การสั่งสมความรู้ ประสบการณ์การถ่ายทอด และการผสมผสานกับการแพทย์ท้องถิ่นและรบบการแพทย์อื่นเข้ามาสู่สังคมไทย ในสมัยต่าง ๆ จนกลายมาเป็นระบบการแพทย์แผนไทยซึ่งเป็นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมโดยมุ่งเน้นความสมดลของธาตุภายในร่างกายและความสมดุลภายในจิตใจ และยังมีการผสมผสานการดูแลของศาสตร์การแพทย์ทางเลือก (Alternative Medicine) เข้ามาเป็นอีหนึ่งทางเลือกในการดูแลสุขภาพประชาชนอีกด้วย เช่น การกดจุดคลายพังผืด (ผ่าตัดเทียม) การบริหารด้วยศาสตร์มณีเวช ปัจจุบันทางด้านสาธารณสุขได้เล็งเห็นถึงประโยชน์ทางด้านการแพทย์แผนไทยทางเลือกมากขึ้นและได้สนับสนุนให้ศาสตร์ทางการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเข้ามามีบทบาทในการรักษาโรคตามโรงพยาบาล ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพทั่วประเทศ เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีทางเลือกในการรักษาเพิ่มมากขึ้น แต่เนื่องด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยนั้นได้ถูกลดบทบาทลงไประยะเวลานาน จึงทำให้ประชาชนบางส่วนที่ยังไม่มีโอกาสในการเข้าถึงการรักษาด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยละแพทย์ทางเลือก และพบว่าในปัจจุบันสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุ มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างชัดเจน ซึ่งการเพิ่มขึ้นของประชาการผู้สูงอายุนำไปสู่การเพิ่มขึ้นของประชาการในวัยพึ่งพิง ทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และสุขภาพ ปัญหาที่พบได้บ่อยเกี่ยวกับสุขภาพในผู้อายุคืออาการปวดเมื่อกล้ามเนื้อ ข้อเข่า อวัยวะต่าง ๆ กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง เป็นต้น ทางคลินิกแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลระโนด มีแนวทางการดูรักษาผู้ป่วยโรคกลุ่มกล้ามเนื้อและกระดูก การดูแลผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ตดต่อเรื้องรัง และระบบอื่น ๆ ด้วยการนาดรักษา ประคบสมุนไพร การแช่ยา การพกยา การสักยา การผ่าตัดเทียม รวมถึงการการจ่ายยาสมุนไพร เป็นต้น ดังนั้นทางคลินิกแพทย์แผนไทยจึงต้องการให้กลุ่มผู้สูงอายุ วัยทำงาน และประชาชนทั่วไปมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก และต้องการให้ประชาชนมีโอกาสเข้าถึงการรับบริการด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกในพื้นที่ง่ายและสะดวกมากขึ้น จึงได้สนใจในการจัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการรับบริการด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การให้ความรู้เกี่ยวกับแนวทางการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนเข้าถึงการรับบริการด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
- ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการรับบริการด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการรับบริการด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การให้ความรู้เกี่ยวกับแนวทางการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการบูรณาการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกสู่ชุมชน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5222-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวงามศิริ สิงห์คำปอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......