กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัยด้วยความใส่ใจของชุมชนตำบลโคกม่วงประจำปี 2561
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลเขาชัยสน
วันที่อนุมัติ 5 มกราคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 17 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 28 กันยายน 2561
งบประมาณ 25,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางจามรี ไตรจันทร์
พี่เลี้ยงโครงการ นางวาลัยพรด้วงคง
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.389,100.067place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง , แผนงานคนพิการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ผลการดำเนินงานของโครงการผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัยด้วยความลใส่ใจของเทสบาลตำบลโคกม่วงมีผลลัพธ์ความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์เท่ากับร้อยละ 83. 23 (เป้่าหมายโครงการมากกว่าร้อยละ 80 ) และเป็นปัญหาการใช้ยา ในรูปแบบการใช้ยาที่ไม่ถูกต้องทั้งในการกยุดยาาเองทั้งในส่วนที่กลัวยามีผลทำให้เกิดโรคไตความเข้าใจที่มีอาการแพ้ยาแล้วหยุดยา ไมาทราบวิธีการแก้ปัญหาเมื่อลืมกินยา การใช้ยาในผู้ปาวยที่ขาดผู้ดูแลหรือใช้ยาไม่ถุกต้องเมื่อผู้ดูแลไม่อยู่ ผู้ป่วยที่ตาบอด ปัญหาที่เก็บยาไม่ถูกต้อง ที่ส่งผลให้ยาเสื่อมสภาพ หมดอายุ และหากมีการใช้จะส่งผลเสียให้เกิดกับผู้ใช้ ผลการถอดบทเรียนของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวาข้องในโครงการอยากให้มีการดำเนินการดังนี้ในแต่ละกลุ่ม คือ กลุ่มเด็กนักเรียนเพิ่มการขยายองค์ความรู้ในโรงเรียนโดยการใช้เสียงตามสาย การตรวจสอบความปลอดภัยในอาหารโรงเรียนโดยผ่าน อย.น้อยในโรงเรียน การตรวจสารปนเปื้อนต่างๆในชุมชนในรูปแบบการสาธิต และเป็นแกนนำในการตรวจสอบความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ในชุมชน การให้ความรู้ผ่านเสียงตามสายในชุมชน กลุ่มอสม. การขยายองค์ความรู้ คือการนำความรู้ที่ได้มาถ่ายถอดและปฏิบัติแก่ครัวเรือนในชุมชน/โรงเรียน อสม. เป็นบุคคลต้นแบบในครัวเรือนและชุมชน เชื่อมโยงการดำเนินงานของเด็กนักเรียนเป็นแกนนำ อย.น้อยในโรงเรียน อยากให้มีโครงการปิ่นโตสุขภาพในวัด การรณรงค์ลดหวาน มัน เค็ม ในงานเลี้ยงต่างๆ กลุ่มผุ้ป่วยที่สามารถเดินเองได้สะดวกไปมา เยี่ยมด้วยกันและไปเยี่ยมผู้ป่วยติดเตียง เพื่อดแนะนำการใช้ยา การกินยาหารที่ถูกต้อง โดยสนับสนุนงบประมาณจากเทศบาลตำบลโคกม่วง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้มีผลิตภัณฑ์สุขภาพ (อาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพ เครื่องปรับปรุงอาหาร) ในชุมชนมีความปลอดภัย
  1. ผลิตภัณฑ์สุขภาพอาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์ อาหารเสริมสุขภาพ เครื่องปรุงอาหาร ในชุมชนมีความปลอดภัย ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 80
1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 25,000.00 5 25,000.00
12 มิ.ย. 61 - 17 ก.ย. 61 1. ประชุมทีมพี่เลี้ยง จำนวน 20 คน เพื่อดำเนินกิจกรรม ต่างๆๆ ดังนี้ 0 2,500.00 2,500.00
12 มิ.ย. 61 - 17 ก.ย. 61 2. อบรมเชิงปฏิบัติการนักเรียนและครู จำนวน 80 คน โดยทีมพี่เลี้ยง จำนวน 20 คน รวม 100 คน 0 7,000.00 7,000.00
12 มิ.ย. 61 - 17 ก.ย. 61 3. อบรม อสม. ตัวแทน อสม.จำนวน 80 คน ทีมพี่เลี้ยง 20 คน รวม 100 คน 0 4,700.00 4,700.00
12 มิ.ย. 61 - 17 ก.ย. 61 4.การประกวดผลงานและการนำเสนอผลการดำเนินงาน ของโครงการ เด็กนักเรียน ครู พี่เลี้ยง 120 คน 0 7,600.00 7,600.00
29 ม.ค. 62 5. สรุปบทเรียนและผลการดำเนินงานของ อสม.80 คน ทีมพี่เลี้ยง 20 คน รวม 100 คน 0 3,200.00 3,200.00
  1. กิจกรรมในกลุ่มเด็ก พื้่นที่ในการดำเนินคือ ในโรงเรียนและบ้านของนักเรียนเอง มีกิจกรรมดังนี้ 1.1 อบรมเชิงปฏิบัติการในการตรวจสอบความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพ 1.2 เผยแพร่และดำเนินการในการตรวจสอบเพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สขภาพในโงเรียน 1.3 เผยแพร่และดำเนินการตรวจสอบเพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในครัวเรือนของตนเอง 1.4 เฝ้า ระวัง ติดตามการแก้ปัญหา การใช้ยาของผุ้ป่วยเรื้อรังในครัวเรือนและบ้านใกล้เคียง 1.5 สรุปการดำเนินงานโดยการนำเสนอผลการดำเนินงานของแกนนำ อย.น้อยในโรงเรียน และเผยแพร่ผลการดำเนินด้านความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในรูปแบบ การประกวด เรียงความา ภาพวาด 2.กิจกรรมในกลุ่ม อสม. มีการดำเนินงานในครัวเรือนที่รัุบผิดชอบ มีกิจกรรมดังนี้ 2.1 อบรมเชิงปฏิบัติการในการตรวจสอบความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพ โดยแยกเป็นราย รพ.สต. 2.2 ดำเนินการเฝ้าระวัง ตรวจสอบการแก้ปัยหาควาทปลอดภัยของผลตภัณฑ์สุขภาพในครัวเรือน ที่รับผิดชอบ 2.3 ดำเนินการเฝ้าระวัง และแกำ้ปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในกลุามผู้ป่วยที่มีปัญหา ไม่สามารถใช้เยยาได้อย่างถูกต้อง ไม่มีผู้ดูแล โดยเน้นการใช้ยา เครื่องปรุงอาหาร อาหารเสริม 2.4 สรุปผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยใช้เครื่องมือการทดสอบบทเรียน ในกลุ่มแกดนนำ อสม.ใน แต่ รพ.สต
  2. กิจกรรมในกลุ่มทีมพี่เลี้ยงในการดำเนินงาน มรกิจกรรมดังนี้ 3.1 ประชุมทีมงานเพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินงานทั้งในกลุ่มเด็ก แล อสม. 3.2 สรุปผลและการถอดบทเรียนในการดำเนินงาน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เกิดกระบวนการ การคุ้มครองผู้บริโรคในชุมชน ที่มีความรู้และเฝ้าระวัง ตรวจสอบความปลอดภัยในผลิตภัณฑ์สสุขภาพ ในพื้นที่ ส่งผลให้เกิดความปลอดภัยในการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพเพิ่มขึ้น
  2. คัวเรือนมีความปลอดภัยในการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพเพิ่มขึ้น
  3. เป็นแบบอย่างในการดำเนินการแก้ปัญหาด้านสุขภาพโดยชุมชน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 ม.ค. 2561 11:05 น.