กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
1. ประชุมทีมพี่เลี้ยง จำนวน 20 คน เพื่อดำเนินกิจกรรม ต่างๆๆ ดังนี้ 12 มิ.ย. 2561 12 มิ.ย. 2561

 

ประชุมพี่เลี้ยงและค่าอาหารกลาง

 

กิจกรรมในกลุ่มเด็ก จำนวน 75 คน เป็นเด็กประถมศึกษาในโรงเรียนในเขตพื้นที่ มีการอบรมเชิงปฏิบัติการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพดำเนินการเผยแพร่และดำเนินการการตรวจสอบเพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในโรงเรียน ในครัวเรือนของตนเอง ติดตามและแก้ไขปัญหาการใช้ยาของผุ้ป่วยเรื้อรังในครัวเรือนและบ้านใกล้เคียง สรุปผลการดำเนินงานโดยการนำเสนอผลการดำเนินงานแก่แกนนำ อย.น้อยในโรงเรียน และเผยแพร่ผลการดำเนินด้านความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในรูปแบบ การประกวด เรียงความ ภาพวาด กิจกรรมในกลุ่ม อสม.จำนวน 75 คน มีการอบรมเชิงปฏิบัติการในการตรวจสอบความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในครัวเรือนที่รับผิดชอบ จำนวน 453 ครัวเรือนดำเนินการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหา ไม่สามารถใช้ยาได้อย่างถูกต้อง ไม่มีผู้ดูแล จำนวน 24 ครัวเรือน และสรุปผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยใช้เครื่องมือการถอดบทเรียน ในกลุถ่มแกนนำ อสม. ในแต่ละ รพสต. ผลลัพธ์จากการดำเนินงาน ผลิตภัณฑ์มีความปลอดภัยร้อยละ 89.1

 

2. อบรมเชิงปฏิบัติการนักเรียนและครู จำนวน 80 คน โดยทีมพี่เลี้ยง จำนวน 20 คน รวม 100 คน 12 มิ.ย. 2561 12 มิ.ย. 2561

 

อบรมให้ความรู้

 

กิจกรรมในกลุ่มเด็ก จำนวน 75 คน เป็นเด็กประถมศึกษาในโรงเรียนในเขตพื้นที่ มีการอบรมเชิงปฏิบัติการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพดำเนินการเผยแพร่และดำเนินการการตรวจสอบเพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในโรงเรียน ในครัวเรือนของตนเอง ติดตามและแก้ไขปัญหาการใช้ยาของผุ้ป่วยเรื้อรังในครัวเรือนและบ้านใกล้เคียง สรุปผลการดำเนินงานโดยการนำเสนอผลการดำเนินงานแก่แกนนำ อย.น้อยในโรงเรียน และเผยแพร่ผลการดำเนินด้านความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในรูปแบบ การประกวด เรียงความ ภาพวาด กิจกรรมในกลุ่ม อสม.จำนวน 75 คน มีการอบรมเชิงปฏิบัติการในการตรวจสอบความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในครัวเรือนที่รับผิดชอบ จำนวน 453 ครัวเรือนดำเนินการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหา ไม่สามารถใช้ยาได้อย่างถูกต้อง ไม่มีผู้ดูแล จำนวน 24 ครัวเรือน และสรุปผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยใช้เครื่องมือการถอดบทเรียน ในกลุถ่มแกนนำ อสม. ในแต่ละ รพสต. ผลลัพธ์จากการดำเนินงาน ผลิตภัณฑ์มีความปลอดภัยร้อยละ 89.1

 

3. อบรม อสม. ตัวแทน อสม.จำนวน 80 คน ทีมพี่เลี้ยง 20 คน รวม 100 คน 12 มิ.ย. 2561 12 มิ.ย. 2561

 

ค่าอาหารว่างและค่าตอบแทนวิทยากร

 

กิจกรรมในกลุ่มเด็ก จำนวน 75 คน เป็นเด็กประถมศึกษาในโรงเรียนในเขตพื้นที่ มีการอบรมเชิงปฏิบัติการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพดำเนินการเผยแพร่และดำเนินการการตรวจสอบเพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในโรงเรียน ในครัวเรือนของตนเอง ติดตามและแก้ไขปัญหาการใช้ยาของผุ้ป่วยเรื้อรังในครัวเรือนและบ้านใกล้เคียง สรุปผลการดำเนินงานโดยการนำเสนอผลการดำเนินงานแก่แกนนำ อย.น้อยในโรงเรียน และเผยแพร่ผลการดำเนินด้านความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในรูปแบบ การประกวด เรียงความ ภาพวาด กิจกรรมในกลุ่ม อสม.จำนวน 75 คน มีการอบรมเชิงปฏิบัติการในการตรวจสอบความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในครัวเรือนที่รับผิดชอบ จำนวน 453 ครัวเรือนดำเนินการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหา ไม่สามารถใช้ยาได้อย่างถูกต้อง ไม่มีผู้ดูแล จำนวน 24 ครัวเรือน และสรุปผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยใช้เครื่องมือการถอดบทเรียน ในกลุถ่มแกนนำ อสม. ในแต่ละ รพสต. ผลลัพธ์จากการดำเนินงาน ผลิตภัณฑ์มีความปลอดภัยร้อยละ 89.1

 

4.การประกวดผลงานและการนำเสนอผลการดำเนินงาน ของโครงการ เด็กนักเรียน ครู พี่เลี้ยง 120 คน 12 มิ.ย. 2561 13 มิ.ย. 2561

 

ค่ากิจกรรมการประกวด

 

กิจกรรมในกลุ่มเด็ก จำนวน 75 คน เป็นเด็กประถมศึกษาในโรงเรียนในเขตพื้นที่ มีการอบรมเชิงปฏิบัติการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพดำเนินการเผยแพร่และดำเนินการการตรวจสอบเพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในโรงเรียน ในครัวเรือนของตนเอง ติดตามและแก้ไขปัญหาการใช้ยาของผุ้ป่วยเรื้อรังในครัวเรือนและบ้านใกล้เคียง สรุปผลการดำเนินงานโดยการนำเสนอผลการดำเนินงานแก่แกนนำ อย.น้อยในโรงเรียน และเผยแพร่ผลการดำเนินด้านความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในรูปแบบ การประกวด เรียงความ ภาพวาด กิจกรรมในกลุ่ม อสม.จำนวน 75 คน มีการอบรมเชิงปฏิบัติการในการตรวจสอบความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในครัวเรือนที่รับผิดชอบ จำนวน 453 ครัวเรือนดำเนินการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหา ไม่สามารถใช้ยาได้อย่างถูกต้อง ไม่มีผู้ดูแล จำนวน 24 ครัวเรือน และสรุปผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยใช้เครื่องมือการถอดบทเรียน ในกลุถ่มแกนนำ อสม. ในแต่ละ รพสต. ผลลัพธ์จากการดำเนินงาน ผลิตภัณฑ์มีความปลอดภัยร้อยละ 89.1

 

5. สรุปบทเรียนและผลการดำเนินงานของ อสม.80 คน ทีมพี่เลี้ยง 20 คน รวม 100 คน 29 ม.ค. 2562 12 มิ.ย. 2561

 

สรุปกิกรรม

 

กิจกรรมในกลุ่มเด็ก จำนวน 75 คน เป็นเด็กประถมศึกษาในโรงเรียนในเขตพื้นที่ มีการอบรมเชิงปฏิบัติการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพดำเนินการเผยแพร่และดำเนินการการตรวจสอบเพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในโรงเรียน ในครัวเรือนของตนเอง ติดตามและแก้ไขปัญหาการใช้ยาของผุ้ป่วยเรื้อรังในครัวเรือนและบ้านใกล้เคียง สรุปผลการดำเนินงานโดยการนำเสนอผลการดำเนินงานแก่แกนนำ อย.น้อยในโรงเรียน และเผยแพร่ผลการดำเนินด้านความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในรูปแบบ การประกวด เรียงความ ภาพวาด กิจกรรมในกลุ่ม อสม.จำนวน 75 คน มีการอบรมเชิงปฏิบัติการในการตรวจสอบความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในครัวเรือนที่รับผิดชอบ จำนวน 453 ครัวเรือนดำเนินการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหา ไม่สามารถใช้ยาได้อย่างถูกต้อง ไม่มีผู้ดูแล จำนวน 24 ครัวเรือน และสรุปผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยใช้เครื่องมือการถอดบทเรียน ในกลุถ่มแกนนำ อสม. ในแต่ละ รพสต. ผลลัพธ์จากการดำเนินงาน ผลิตภัณฑ์มีความปลอดภัยร้อยละ 89.1