โครงการป้องกันและดูแลสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5)
ชื่อโครงการ | โครงการป้องกันและดูแลสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | องค์การบริหารส่วนตำบลปิยามุมัง |
วันที่อนุมัติ | |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 9 เมษายน 2568 - 23 เมษายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 เมษายน 2568 |
งบประมาณ | 19,300.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | งานสาธารณสุข สำนักปลัด |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางสาววรนุช อดิศัยศักดา |
พื้นที่ดำเนินการ | ม.1-5 ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.826674,101.379735place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 9 เม.ย. 2568 | 23 เม.ย. 2568 | 19,300.00 | |||
2 | 0.00 | |||||
รวมงบประมาณ | 19,300.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 20 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 10 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 10 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ฝุ่น PM 2.5 มีขนาดเล็กและมีปริมาณมากที่สามารถทะลุขนจมูก แทรกซึมสู่ระบบทางเดินหายใจ | 70.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ที่แพร่กระจายครอบคลุมพื้นที่ ส่วนใหญ่ของประเทศไทย และภูมิภาคข้างเคียง โดยส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ มากกว่าสัปดาห์และคาดว่าสถานการณ์จะยังไม่บรรเทาลง(จากรายงานสถานการณ์และคุณภาพอากาศประเทศไทย ของกรมควบคุมมลพิษhttp://air4thai.pcd.go.th/webV2/)ชื่อหน่วยขอรับงบหากไมรีบดำเนินการจัดการปัญหาดังกล่าว อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ ทั้งในระยะสั้น และในระยะยาวได้ ดังนี้ ผลระยะสั้น ฝุ่น PM 2.5 มีขนาดเล็กและมีปริมาณมากที่สามารถทะลุขนจมูก แทรกซึมสู่ระบบทางเดินหายใจ ทะลุผนังปอดใจและเข้ากระแสเลือดได้อย่างง่ายดาย ผลกระทบที่รับฝุ่นเข้าไปอาจเกิดขึ้นกับร่ายกาย(ภายใน 1 - 2 วัน) ซึ่งส่วนมากจะเกิดกับระบบทางเดินหายใจ โดยมีอาการ ไอ เจ็บคอ หายใจแล้วมีเสียงฟืดฟาด เลือดกำเดาไหล มีเสมหะ ซึ่งหากเลือดไหลลงคอก็จะทำให้เสมหะมีเลือดเจือปน ฝุ่นเข้าตาทำให้เกิดโรคเยื่อบุตาอักเสบทำให้เกิดอาการ เช่นตาแดงแสบตาคันตาหรือระคายเคืองหากเกิดอาการเหล่านี้สามารถบรรเทาอาการด้วยวิธีประคบเย็นหรือใช้น้ำตา เทียมบางกรณีอาจไม่จำเป็นต้องรับการรักษาโดยแพทย์เพราะหายได้เองภายใน 2-3 สัปดาห์นอกเหนือจะทำให้เกิดปัญหาต่อระบบทางเดินหายใจ ยังมีผลกระทบต่อผิวหนังของเราอีกด้วย กรมการแพทย์ โดยสถาบันโรคผิวหนัง เปิดเผยว่า อนุภาคของฝุ่นละอองที่อยู่ในอากาศมีขนาดเล็กเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 2.5 ไมครอนสามารถผ่านเข้าสู่เซลล์ผิวหนังได้ข้อมูลจากงานวิจัยพบว่าฝุ่นละอองขนาดเล็กPM2.5 สามารถจับตัวกับสารเคมีและโลหะต่างๆและนำพาเข้าสู่ผิวหนังมีผลทำร้ายเซลล์ผิวหนังโดยตรงและทำให้การทำงาน ของเซลล์ผิวหนังผิดปกติไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | มี.ค. 68 | เม.ย. 68 |
---|---|---|---|---|
1 | อบรมให้ความรู้(17 มี.ค. 2568-17 มี.ค. 2568) | 0.00 | ||
รวม | 0.00 |
1 อบรมให้ความรู้ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0 | 0 | 0 | |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 80 | 19,300.00 | 0 | 0.00 | |
9 เม.ย. 68 | อบรมให้ความรู้ | 80 | 12,750.00 | - | ||
23 เม.ย. 68 | เพิ่มพื้นที่สีเขียว | 0 | 6,550.00 | - |
ประชาชนได้รับการป้องกันจากฝุ่นละออง ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตัวเอง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 มี.ค. 2568 10:05 น.