กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางดี


“ โครงการปฐมพยาบาลและฟื้นคืนชีพเบื้องต้น ”

ตำบลบางดี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายนิคมแซ่เล้า

ชื่อโครงการ โครงการปฐมพยาบาลและฟื้นคืนชีพเบื้องต้น

ที่อยู่ ตำบลบางดี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1534-2-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปฐมพยาบาลและฟื้นคืนชีพเบื้องต้น จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางดี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปฐมพยาบาลและฟื้นคืนชีพเบื้องต้น



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปฐมพยาบาลและฟื้นคืนชีพเบื้องต้น " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางดี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1534-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเจ็บป่วยฉุกเฉนมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อง ๆ ทั้งจากอุบัติเหตุและจากเจ็บป่วยฉุกเฉินด้วยโรคอันตรายหรือโรคเรื้อรับ เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดในสมอง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคที่เกี่ยกับระบบหายใจที่อาจจำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุอย่างทันท่วงทีเพื่อนำส่งสถานพยาบาลอย่างรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ ประกอบกับขณะนี้องค์การบริหารตำบลบางดีได้เล็งเห็นความสำคัญในเรื่องดังกล่าวโดยจัดตั้งหน่วยปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินตำบลบางดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้สมาชิกชมรมอาสาฉุกเฉินชุมชนมีทักษะ ความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุและระบบการแพทย์ฉุกเฉิน
  2. 2. เพื่อสร้าง พัฒนาอาสาฉุกเฉินชุมชนให้สามารถแจ้งเหตุผ่านสายด่วนและเป็นเครือข่ายประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รับรุ้ต่อสาธารณสุขชนในวงกว้าง
  3. 3. เพื่อพัฒนาอาสาฉุกเฉินชุมชนให้สามารถประเมินรุ้อาการฉุกเฉินที่จะต้องแจ้งเหตุผ่านสายด่วยอันจะเป็นประโยชน์ต่อประชาชนทั่วไป
  4. เพื่อพัฒนาอาสาฉุกเฉินชุมชนให้สามารถช่วยเหลือปฐมพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินเบื้องต้นได้ สามารถสร้างเครรือข่ายการแพทย์ฉุกเฉินของ อบต.บางดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ฝึกอบรมให้ความรุู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อาสาฉุกเฉินสามารถแจ้งเหตุเพื่อขอความช่วยเหลือ กรณีมีผู้ป่วยฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุ
  2. อาสาฉุกเฉินชุมชนสามารุประเมิน/รุ้อาการฉุกเฉินที่จะต้องแจ้งเหตุผ่านสายด่วยได้
  3. อาสาฉุกเฉินชุมชนสามารถให้การช่วยเหลือปฐมพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินเบื้องตจ้น รวมทั้งสือสารแจ้งข่าวให้ประชาชนหรือคนในชุมชนสามารถป้องกันตัวเองและคนใกล้ตัวจากอาการเจ็บป่วยฉุกเฉินได้
  4. เกิดอาสาฉุกเฉินชุมชนสและเครือข่ายความร่วมมือในการแจ้งเหตุฉุกเฉินผ่าน 1669 หรือ หมายเลขโทรศัพท์สายด่วนของ อบต.บางดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ฝึกอบรมให้ความรุู้

วันที่ 18 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

มีการจัดอบรมแก่นนำหมู่บ้าน ๆ ละ 5 คน จำนวน 60 คน โดยอบรมทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ และให้ทำการทำแแบบสอบถามก่อนและหลัง การอบรมและมีการฝึกภาคปฏิบัติทุกคน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตัวแทนแกนนำชาวบ้านหมู่จำนวน 12 หมู่บ้าน ๆ ละ 5 คน สามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นได้และยังสามารถประเมินอาการที่เป็นภาวะวิกฤตและโทรประสานงานกับเจ้าหน้าที่ที่่มีความชำนาญเพื่อทำการรักษาและนำส่งต่อตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การจัดโครงการในครั้งนี้ เป็นโครงการเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลและให้ความความรู้เรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นรวมถึงการโทรแจ้งเหตุขอความช่วยเหลือ ซึ่งการดำเนินกิจกรรมจะดำเนินตามแผนกำหนดการ เป้าหมาย และวัตถุประสงค์ที่วางไว้ทุกขั้นตอน โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือตัวแทนแกนนำชาวบ้านทั้ง 12 หมู่บ้าน ตำบลบางดี อำเภอห้วยยอดจังหวัดตรัง หมู่ละ 5 คน จำนวน 60 คน มีการจัดอบรมทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ และได้ให้ตัวแทนแกนนำชาวบ้านทั้ง 12 หมู่บ้าน ทำแบบสอบถามก่อนและหลัง การอบรม และมีการฝึกภาคปฏิบัติ ซึ่งผลจากการทดสอบนั้นตัวแทนแกนนำชาวบ้านทั้ง 12 หมู่บ้าน จำนวน 60 ท่าน สามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นได้และยังสามารถประมเนิอาการที่เป็นภาวะวิกฤตและโทรประสานงานกับเจ้าหน้าที่ที่มีความชำนาญเพื่อทำการรักษาและนำส่งต่อตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้สมาชิกชมรมอาสาฉุกเฉินชุมชนมีทักษะ ความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุและระบบการแพทย์ฉุกเฉิน
ตัวชี้วัด :

 

2 2. เพื่อสร้าง พัฒนาอาสาฉุกเฉินชุมชนให้สามารถแจ้งเหตุผ่านสายด่วนและเป็นเครือข่ายประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รับรุ้ต่อสาธารณสุขชนในวงกว้าง
ตัวชี้วัด :

 

3 3. เพื่อพัฒนาอาสาฉุกเฉินชุมชนให้สามารถประเมินรุ้อาการฉุกเฉินที่จะต้องแจ้งเหตุผ่านสายด่วยอันจะเป็นประโยชน์ต่อประชาชนทั่วไป
ตัวชี้วัด :

 

4 เพื่อพัฒนาอาสาฉุกเฉินชุมชนให้สามารถช่วยเหลือปฐมพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินเบื้องต้นได้ สามารถสร้างเครรือข่ายการแพทย์ฉุกเฉินของ อบต.บางดี
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้สมาชิกชมรมอาสาฉุกเฉินชุมชนมีทักษะ ความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุและระบบการแพทย์ฉุกเฉิน (2) 2. เพื่อสร้าง พัฒนาอาสาฉุกเฉินชุมชนให้สามารถแจ้งเหตุผ่านสายด่วนและเป็นเครือข่ายประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รับรุ้ต่อสาธารณสุขชนในวงกว้าง (3) 3. เพื่อพัฒนาอาสาฉุกเฉินชุมชนให้สามารถประเมินรุ้อาการฉุกเฉินที่จะต้องแจ้งเหตุผ่านสายด่วยอันจะเป็นประโยชน์ต่อประชาชนทั่วไป (4) เพื่อพัฒนาอาสาฉุกเฉินชุมชนให้สามารถช่วยเหลือปฐมพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินเบื้องต้นได้ สามารถสร้างเครรือข่ายการแพทย์ฉุกเฉินของ อบต.บางดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ฝึกอบรมให้ความรุู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปฐมพยาบาลและฟื้นคืนชีพเบื้องต้น จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1534-2-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนิคมแซ่เล้า )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด