โครงการบริหารจัดการขยะโดยชุมชนตำบลสะท้อน (ลดขยะ ลดโรค)
ชื่อโครงการ | โครงการบริหารจัดการขยะโดยชุมชนตำบลสะท้อน (ลดขยะ ลดโรค) |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | สำนักปลัด อบต.สะท้อน |
วันที่อนุมัติ | 26 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 3 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 365,700.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางศรีสุดา พัทธโน |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลสะท้อน อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.622,100.673place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 มี.ค. 2568 | 30 ก.ย. 2568 | 365,700.00 | |||
รวมงบประมาณ | 365,700.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 133 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การสร้างความรู้ความเข้าใจการจัดการขยะมูลฝอยระดับครัวเรือน มีการคัดแยกขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง มีการเก็บขนแบบแยกประเภทและนำไปกำจัดอย่างถูกต้อง ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะ ที่ต้นทาง ส่งผลให้ชุมชนในพื้นที่สามารถลดปริมาณขยะที่ต้องนำไปกำจัด และลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินการเก็บขนและจำกัดขยะมูลฝอย ดังนั้นแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยมีแนวคิดหลักในการเพิ่มประสิทธิภาพ และให้เกิดการบูรณาการของการจัดการขยะมูลฝอย เนื่องจากการจัดการขยะมูลฝอยในปัจจุบันเป็นไปในลักษณะรูปแบบต่างคนต่างทำ จึงเกิดปัญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและนำมาซึ่งเหตุเดือดร้อนรำคาญและการร้องเรียน ดังนั้นการเพิ่มประสิทธิภาพและให้เกิดการบูรณาการของการจัดการขยะมูลฝอย จะมุ่งเน้นให้มีการนำขยะมูลฝอยที่มีศักยภาพนำกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด และลดปริมาณขยะมูลฝอยที่ต้องนำไปกำจัดให้น้อยที่สุด เน้นแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยแบบผสมผสาน เน้นการลดปริมาณขยะ เน้นการคัดแยกขยะ และการนำกลับมาใช้ซ้ำ ควบคู่ไปกับการจัดเก็บขยะ โดยใช้หลักการการมีส่วนร่วมในชุมชน โดยมีกลยุทธ์ในการดำเนินงาน ๓ ด้าน คือ การมีส่วนร่วมของประชาชน การลดปริมาณขยะโดยการคัดแยกขยะ และการใช้ประโยชน์จากขยะ เกิดการสร้างรายได้และลดค่าใช้จ่ายให้กับชุมชนและท้องถิ่นในการจัดการขยะอย่างยั่งยืน
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 1333 | 365,700.00 | 0 | 0.00 | 365,700.00 | |
7 - 18 มี.ค. 68 | คัดเลือกคณะกรรมการจัดการขยะหมู่บ้าน/ชุมชน และอบรมให้ความรู้และสร้างความเข้าใจ | 133 | 335,700.00 | - | - | ||
24 มี.ค. 68 - 30 ส.ค. 68 | ประชาสัมพันธ์ รณรงค์การคัดแยกขยะ | 200 | 30,000.00 | - | - | ||
1 เม.ย. 68 - 30 พ.ค. 68 | รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ | 1,000 | 0.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 1,333 | 365,700.00 | 0 | 0.00 | 365,700.00 |
- ลดปริมาณขยะในชุมชนได้ (ลดขยะ ลดโรค)
- เกิดการสร้างรายได้และลดค่าใช้จ่ายให้กับชุมชนและท้องถิ่นในการจัดการขยะอย่างยั่งยืน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 มี.ค. 2568 10:55 น.