directions_run
โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี สังคมมีความสุข
ชื่อโครงการ | โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี สังคมมีความสุข |
รหัสโครงการ | 68-L2522-2-04 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมกีรออาตีเทศบาลตำบลแว้ง |
วันที่อนุมัติ | 24 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 8 เมษายน 2568 - 3 มิถุนายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 30,150.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | ชมรมกีรออาตีเทศบาลตำบลแว้ง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง | 65.00 | ||
2 | จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองแล้วมีภาวะซึมเศร้าและกังวล(คน) | 3.00 | ||
3 | ร้อยละของผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน | 50.00 | ||
4 | จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง เช่น ตาต้อ กระจก เป็นต้น (คน) | 10.00 | ||
5 | จำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เช่น หกล้มง่าย เป็นต้น | 15.00 | ||
6 | จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (คน) | 20.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพิ่มพูนผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแลเพิ่มขึ้น |
3.00 | 1.00 |
2 | เพิ่มลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการลดอุบัติเหตุ ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการลดอุบัติเหตุ จำนวนลดลง |
15.00 | 5.00 |
3 | เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง |
80.00 | 10.00 |
4 | เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงท่ีเป็นโรคเบาหวาน ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงท่ีเป็นโรคเบาหวาน ลดลง |
50.00 | 10.00 |
5 | เพิ่มจำนวนบุคลากรในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฎิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องการได้รับการดูแล จำนวนบุคลากรในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฎิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องการได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น |
20.00 | 5.00 |
6 | เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ลดลง |
10.00 | 3.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 30,150.00 | 0 | 0.00 | |
8 เม.ย. 68 | ประชุมเตรียมความพร้อมครั้งที่ 1 | 0 | 250.00 | - | ||
15 เม.ย. 68 | กิจกรรมที่ 2 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 | 0 | 250.00 | - | ||
29 เม.ย. 68 | กิจกรรมที่ 3 จัดกิจกรรมการบรรยายในหัวข้อ “ ออกกำลังกายถูกวิธี สูงวัยมีพลัง” | 0 | 5,700.00 | - | ||
6 พ.ค. 68 | กิจกรรมที่ 4 จัดกิจกรรมตรวจสุขภาพ “ตรวจสุขภาพสม่ำเสมอ เพื่อชีวิตที่ยืนยาว” | 0 | 6,000.00 | - | ||
13 พ.ค. 68 | กิจกรรมที่ 5 จัดกิจกรรมนันทนาการ “ผู้สูงวัยสุขใจ ร่วมกิจกรรมคลายเหงา” | 0 | 5,700.00 | - | ||
20 พ.ค. 68 | กิจกรรมที่ 6 จัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านโภชนาการ “โภชนาการที่เหมาะสม สำหรับผู้สูงอายุ” | 0 | 6,000.00 | - | ||
27 พ.ค. 68 | กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านการจราจร “สูงวัยปลอดภัย ข้ามถนนอย่างถูกวิธี” | 0 | 5,700.00 | - | ||
3 มิ.ย. 68 | กิจกรรมที่ 8 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 | 0 | 550.00 | - |
- สุขภาพกายและจิตที่ดีขึ้น:
- ความสุขและความพึงพอใจในชีวิต:
- การเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม:
- การพึ่งพาตนเองได้มากขึ้น:
- การแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างคนรุ่นใหม่และผู้สูงอายุ:
- การลดความเหงา: การทำกิจกรรมร่วมกันจะช่วยลดความรู้สึกเหงาและเพิ่มการมีส่วนร่วมในสังคม
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 มี.ค. 2568 19:58 น.
project version 4.4.01 release 2022-02-13. ช่วยเหลือ