กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มพูนผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแลเพิ่มขึ้น
3.00 1.00

 

2 เพิ่มลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการลดอุบัติเหตุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการลดอุบัติเหตุ จำนวนลดลง
15.00 5.00

 

3 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
80.00 10.00

 

4 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงท่ีเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงท่ีเป็นโรคเบาหวาน ลดลง
50.00 10.00

 

5 เพิ่มจำนวนบุคลากรในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฎิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องการได้รับการดูแล
ตัวชี้วัด : จำนวนบุคลากรในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฎิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องการได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น
20.00 5.00

 

6 เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ลดลง
10.00 3.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้สูงอายุ 60

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มพูนผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล (2) เพิ่มลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการลดอุบัติเหตุ (3) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (4) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงท่ีเป็นโรคเบาหวาน (5) เพิ่มจำนวนบุคลากรในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฎิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องการได้รับการดูแล (6) เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเตรียมความพร้อมครั้งที่ 1 (2) กิจกรรมที่ 2 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 (3) กิจกรรมที่ 3 จัดกิจกรรมการบรรยายในหัวข้อ “ ออกกำลังกายถูกวิธี สูงวัยมีพลัง” (4) กิจกรรมที่ 4 จัดกิจกรรมตรวจสุขภาพ “ตรวจสุขภาพสม่ำเสมอ เพื่อชีวิตที่ยืนยาว” (5) กิจกรรมที่ 5 จัดกิจกรรมนันทนาการ “ผู้สูงวัยสุขใจ ร่วมกิจกรรมคลายเหงา” (6) กิจกรรมที่ 6 จัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านโภชนาการ “โภชนาการที่เหมาะสม สำหรับผู้สูงอายุ” (7) กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านการจราจร “สูงวัยปลอดภัย ข้ามถนนอย่างถูกวิธี” (8) กิจกรรมที่ 8 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh