โครงการชุมชนต้นแบบจัดการสุขภาพห่างไกลโรค NCD
ชื่อโครงการ | โครงการชุมชนต้นแบบจัดการสุขภาพห่างไกลโรค NCD |
รหัสโครงการ | 68-L4139-02-02 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน |
วันที่อนุมัติ | 21 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 28,500.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางเกศินี ไชยหมาน |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.597,101.283place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 120 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความตันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคเกี่ยวกับหลอดเลือดและมะเร็ง กลายเป็นภัยระบาดเงียบที่มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งสาเหตุเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง และ ยังกอให้เกิดภาวะแทรกช้อนอันตรายต่างๆ ที่สามารถทำลายอวัยวะต่างๆของร่างกาย ทำให้เกิดความพิการ และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร เช่น หัวใจวาย ไตวาย เส้นเลือดในสมองตีบแตก เกิดอัมพาต และประสาทตา เสื่อมมัว โรคเหล่านี้ทำให้ผู้ป่วยเกิดความทุกข์ทรมานทั้งร่างกายและจิตใจ เนื่องจากเป็นโรคเรื้อรังที่ไม่ สามารถรักษาให้หายขาดได้ ต้องอาศัยการรักษาอย่างต่อเนื่องด้วยการทานยาตลอดชีวิต ซึ่งส่งส่งผลกระทบ เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศอย่างมหาศาล จึงทำให้ประเทศต้องมีนโยบายในการป้ ด้วยคุมโรคเหล่านี้ โดยการลดพฤติกรรมเสี่ยงในประชากรไทย หวานและความดันโลหิตสูง เป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ เช่นกร ปัจจัยที่สามารถควบคุมได้ เช่น ความอ้วน , ความเครียด , ขาดการอกกำลังกาย , การบริโภคอาห การดื่มสุราสูบบุหรี่ ถ้าหากประชาชนไม่มีการควบคุมปัจจัยดังกล่าว ร่วมกับการมีอายุที่มากขึ้นคือ อายุ 35 ปีขึ้นไป "ฮอมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานหรือความดันโลหิตสูงได้ ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวแล้ว จำเป็นต้องรับประทานยาตลอดชีวิตหรือถ้าหากมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด ภาวะแทรกช้อนตามมาทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายมากขึ้น ซึ่งจากข้อมูลสุขภาพ การคัดกรองโรคเบาหวานและความตันโลหิตสูง ของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ยโป ปีงบประมาณ 2567 พบว่า ประชานชนที่ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน มีน้ำตาลปกติ ร้อยละ 91.92 เสี่ยง ร้อยละ 8.08 สงสัยป่วย ร้อยละ 2.81 และป่วยเป็นโรคเบาหวาน รายใหม่ จำนวน 9 ราย และประชาชนที่ได้รับการ คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ปกติ ร้อยละ 87.91 เสี่ยง ร้อยละ 12.09 สงสัยป่วย ร้อยละ 4.23 และป่วยเป็นโรคความ คับ รายใหม่ จำนวน 57 ราย ดังนั้น หากประชาชนในกลุ่มต่าง ๆ ปฏิบัติตัวยังไม่ถูกต้อง หรือขาดความรู้ในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และขาดความรอบรู้/ตระหนัก ในการจัดการพฤติกรรมสุขภาวะตนเองแล้ว จะส่งผลให้เกิดผู้ป่วย ชายใหม่เพิ่มขึ้นในทุก ๆ ปี ประกอบกับประชาชน ยังชาดการเข้าถึงการดูแลด้านสุขภาพ และขาดการจัดการสุขภาพ ของกุมชนโดยชุมชนเองในการดูแลหรือบริการอย่างต่อเนื่องและใกล้บ้านใกล้ใจ ไม่ว่าจะเป็น จุด/สถานที่ให้บริการหรือ ร่วมจัดการด้านสุขภาพในชุมชน ที่สอดดดล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนในพื้นที่ ดังนั้นเพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้ประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง และสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มี นร่วมในการดูแลสุขภาพ รวมทั้งสามารถประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชุมช "ป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ชมรมอาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำนตำบลยุโป ร่วมกับ โรงพยาบาล เสริมสุขภาพตำบลยุโป จึงได้จัดทำโครงการชุมชนชนต้นแบบจัดการสุขภาพห่างไกลโรค NCD ขึ้น เพื่อให้ประชาชนใน ที่ที่นที่สามารถเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข ใกล้บ้านใกล้ใจ และสามารถประเมินภาวะสุขภาพตนเองได้เบื้องต้น มีความรอบ รู้ดานสุขภาพ เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างยั่งยืน
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง สงสัยป่วย มีความรอบรู้ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อดรื้อรัง 1.กลุ่มเสี่ยง สงสัยป่วย มีความรอบรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ร้อยละ 80 |
||
2 | 2.เพื่อส่งเสริมการเกิดกลไกจัดการหมู่บ้านปรับเปปลี่ยน 2.สร้างเครือข่าย คนต้นแบบเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และขยายผล อย่างน้อย 1 แห่ง |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง สงสัยป่วย มีความรอบรู้ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อดรื้อรัง |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 2.เพื่อส่งเสริมการเกิดกลไกจัดการหมู่บ้านปรับเปปลี่ยน |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้
1.กลุ่มเสี่ยง กลุ่มส่งสัยป่วยมีความรอบรู้ ความเข้าใจและเกิดความตระหนัก สามารถดูแลและจัดการสุขภาพตนเอง 2.กลุ่มเสี่ยง กลุ่มส่งสัยป่วยสามารถดูแลตนเอง และปรับพฤติกรรมโดยไม่เป็นกลุ่มป่วยรายใหม่ 3.ผู้ป่วยโรคความดัน เบาหวาน รายใหม่ลดลง 4.ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการระบบดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 มี.ค. 2568 10:17 น.