กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการรักปลอดภัย ห่างไกลเอชไอวี/เอดส์ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลรอฟิด หะยีดือเระ




ชื่อโครงการ โครงการรักปลอดภัย ห่างไกลเอชไอวี/เอดส์ ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 19/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรักปลอดภัย ห่างไกลเอชไอวี/เอดส์ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรักปลอดภัย ห่างไกลเอชไอวี/เอดส์ ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรักปลอดภัย ห่างไกลเอชไอวี/เอดส์ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 77,564.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เอดส์ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ ที่ส่งผลกระทบโดยรวมต่อการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจ และเป็นปัญหาที่มิใช่เฉพาะการระบาดและการเจ็บป่วยเท่านั้น ยังส่งผลต่อปัญหาการรังเกียจ การตีตราและการเลือกปฏิบัติสำหรับผู้ที่อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวีด้วย การคาดประมาณโดยใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ Spectrum-AEM  (12 มีนาคม 2567) คาดว่าในปีพ.ศ. 2566 ประเทศไทยมีจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่ทั้งสิ้น 580,000 คน มีผู้ที่เสียชีวิตเนื่องจากเอดส์ 12,000 คน และมีผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ 9,100 คน สาเหตุและช่องทางการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ของผู้ใหญ่ (อายุ 15 ปีขึ้นไป) ร้อยละ 3 ติดเชื้อจากการใช้เข็มและกระบอกฉีดยาไม่สะอาดร่วมกัน และส่วนใหญ่ร้อยละ 97 เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ป้องกันในกลุ่มประชากรหลักและคู่ โดยช่องทางของการติดเชื้อเอชไอวี  รายใหม่ที่พบมากที่สุด คือ จากเพศสัมพันธ์ระหว่างชายกับชายถึงร้อยละ 67.0 รองลงมาคือ การมีเพศสัมพันธ์กับคู่ผลเลือดต่าง (คู่อยู่กิน/คู่ประจำ) ร้อยละ 20.0 การมีเพศสัมพันธ์กับคู่ชั่วคราวและนอกสมรส ร้อยละ 8.0 และจากการใช้เข็มและกระบอกฉีดยาไม่สะอาดร่วมกัน ร้อยละ 4.0 และหากจำแนกการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ ตามกลุ่มประชากรที่มีโอกาสเสี่ยงสูงต่อการรับและถ่ายทอดเชื้อฯ พบว่าเป็นกลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย ร้อยละ 51.7 พนักงานบริการชายร้อยละ 2.9 ผู้ใช้สารเสพติดด้วยวิธีฉีด ร้อยละ 3.1 สาวประเภทสอง/หญิงข้ามเพศ ร้อยละ 2.3 ลูกค้า/ผู้ซื้อบริการทางเพศ (Clients of FSW) ร้อยละ 1.9 พนักงานบริการทางเพศหญิง (FSW) ร้อยละ 0.5 และสัดส่วนของผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ประมาณร้อยละ 37.6 เกิดขึ้นในประชากรกลุ่มอื่น (ทั้งชายและหญิง) ที่ไม่ได้มีโอกาสเสี่ยงต่อการรับและถ่ายทอดเชื้อฯ สูง ณ ช่วงเวลาเดียวกัน และจากการคาดประมาณสถานการณ์การแพร่ระบาดของเอชไอวี/เอดส์ในยะลา พบว่า ณ สิ้นปี 2566 มีจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่ทั้งสิ้น 1,763 คน มีผู้ที่เสียชีวิตเนื่องจากเอดส์ 88 คน และมีผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่อายุมากกว่า 15 ปี จำนวน 30 คน เป็นเพศชาย 22 คน และเพศหญิง 8 คน โดยในพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก พบข้อมูลผู้ป่วยเอดส์ จำนวน 31 คน (12 มีนาคม 2567) การสร้างภูมิคุ้มกันให้เยาวชน โดยความรู้ความเข้าใจ และทักษะที่จะปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ ที่เป็นพฤติกรรมเสี่ยง และหากไม่สามารถหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงได้ เยาวชนต้องมีความตระหนักถึงการมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยต่อตนเองและสังคม การให้ความสำคัญในการให้ความรู้ ความเข้าใจแก่เยาวชนเรื่องโรคเอดส์ยังคงเป็นมาตรการที่ต้องดำเนินการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์    อย่างต่อเนื่อง เพื่อปลุกจิตสำนึกให้เด็กและเยาวชน ได้มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญและความรุนแรงของปัญหา ตลอดจนผลกระทบต่างๆที่จะเกิดขึ้น เทศบาลเมืองสะเตงนอก ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาโรคเอดส์ ให้ประสบความสำเร็จ ประกอบกับพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 14) พ.ศ.2562 ส่วนที่ 3 หน้าที่ของเทศบาลเมือง มาตรา 53 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายกำหนดให้เทศบาลเมือง มีหน้าที่ต้องทำในเขตเทศบาลเมือง ดังต่อไปนี้ (1) กิจการตามที่ระบุไว้ในมาตรา 50 คือมีหน้าที่ในการป้องกันและระงับโรคติดต่อ จึงได้จัดทำโครงการ  รักปลอดภัย ห่างไกลเอชไอวี/เอดส์ ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น โดยมุ่งเน้นในการกระตุ้นและส่งเสริมให้เยาวชน มีความรู้ความเข้าใจและมีทัศนคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ อันจะนำไปสู่การมีพฤติกรรมทางเพศที่ปลอดภัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
  2. 2.เพื่อให้เยาวชนมีทัศนคติที่ดีต่อผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ และการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ลดการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ 2.เยาวชนมีทักษะชีวิตด้านการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2.เพื่อให้เยาวชนมีทัศนคติที่ดีต่อผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ และการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (2) 2.เพื่อให้เยาวชนมีทัศนคติที่ดีต่อผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ และการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรักปลอดภัย ห่างไกลเอชไอวี/เอดส์ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลรอฟิด หะยีดือเระ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด