โครงการส่งเสริมสุขภาพเยาวชนตำบลลิพัง
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมสุขภาพเยาวชนตำบลลิพัง |
รหัสโครงการ | 68-L1486-02-13 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | สภาเด็กและเยาวชนตำบลลิพัง |
วันที่อนุมัติ | 13 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 3 มีนาคม 2568 - 15 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 7,832.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | เด็กชายเศรษฐสิทธิ์ เหมรา |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลลิพัง อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.184,99.81place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 3 มี.ค. 2568 | 15 ก.ย. 2568 | 7,832.00 | |||
รวมงบประมาณ | 7,832.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ปัญหาด้านสุขภาพของเยาวชนในตำบลลิพัง เป็นปัญหาหนึ่งที่ต้องได้รับการแก้ไข ถึงแม้ว่ารัฐบาลจะมีนโยบายจัดทำบัตรสุขภาพทั่วหน้า แต่สำหรับเยาวชนส่วนใหญ่มักจะไม่ดูแลหรือใส่ใจในสุขภาพของตนเองมากนัก เมื่อมีปั | 50.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | วัตถุประสงค์ 1.เพื่อพัฒนาทักษะของเยาวชนในการสร้างสุขภาพและการรณรงค์เผยแพร่ข้อมูลด้านสุขภาพแก่เด็กและเยาวชนและชุมชน 2.ให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสุขภาพและการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการให้เหมาะสมกับช่วงวัย 3.เพื่อให้เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นค่าในสุขภาพของตนเองและสร้างความภูมิใจในตนเอง ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.ผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 50 คน 2.ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมสามารถรณรงค์เผยแพร่ข้อมูลด้านสุขภาพแก่เด็กและเยาวชนและชุมชนได้ ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ และสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการ ให้เหมาะสมกับช่วงวัย ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในสุขภาพของตนเองและสร้างความภูมิใจในตนเอง |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
- ค่าสัมมนาคุณวิทยากร จำนวน 4 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรมฯ จำนวน 50 คนๆ ละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1,250 บาท
- ค่าป้ายโครงการ เป็นเงิน 432 บาท
- ค่าวัสดุเครื่องเขียนอุปกรณ์ เป็นเงิน 3,750 บาท
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (๑) ทำให้เยาวชนมีทักษะในการเสริมสร้างสุขภาพและสามารถรณรงค์เผยแพร่ข้อมูลด้านสุขภาพแก่เด็กและเยาวชนและชุมชน (๒) เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง (3) เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในสุขภาพของตนเองและสร้างความภาคภูมิใจ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 มี.ค. 2568 11:40 น.