โครงการป้องกันและดูแลสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันและดูแลสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลรอฟิด หะยีดือเระ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก
พฤษภาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและดูแลสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 21/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 พฤษภาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและดูแลสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและดูแลสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและดูแลสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 พฤษภาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันได้เกิดสถานการณ์หมอกควันและฝุ่นละอองขนาดเล็ก(PM 2.5) เกินค่ามาตรฐานขึ้น ในหลายพื้นที่ของประเทศไทย อันมีผลกระทบต่อสาธารณชนก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและร่างกาย ของประชาชน ปัญหาหมอกควันและฝุ่นละอองทำให้คนที่อยู่ในที่โล่งนานๆมีอาการแสบตา ตาแดง น้ำตาไหล คอแห้งระคายคอ หายใจติดขัด เหนื่อยง่าย แน่นหน้าอก ซึ่งฝุ่นขนาดเล็กเป็นทั้งสาเหตุและปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคอันตรายต่อปอดและระบบทางเดินหายใจ สาเหตุหลักคือการสูบบุหรี่ รองลงมาจากมลพิษทางอากาศ ได้แก่ โรคหอบหืด โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และโรคมะเร็งปอด สถานการณ์ดังกล่าวมีสาเหตุมาจากหลายๆปัจจัย เช่น การขนส่งและการจราจร การเกิดไฟป่า การเผาในที่โล่งแจ้ง การก่อสร้างที่ไม่มีการควบคุมการฟุ้งกระจายของฝุ่น เป็นต้น ปัญหาการเกิดหมอกควันและฝุ่นละอองในพื้นที่เทศบาลเมืองสะเตงนอก มาจากปัจจัยหลายๆอย่าง ได้แก่ควันพิษจากโรงงาน การขนส่งและการจราจร และการเผาในที่โล่ง (Open Burning) ที่เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากการเผาขยะ การเผาเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรเพื่อเตรียมพื้นที่สำหรับการเพาะปลูกในช่วงฤดูฝน การเผาพื้นที่เพื่อประโยชน์ต่อการทำการเกษตร นอกจากจะส่งผลกระทบด้านสุขภาพแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อทรัพย์สินที่อยู่พื้นที่ใกล้เคียง
จากปัจจัยที่กล่าวข้างต้นล้วนก่อให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพกับประชาชน ซึ่งฝุ่นขนาดเล็กเป็นทั้งสาเหตุและปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคอันตรายต่อปอดและระบบทางเดินหายใจ สาเหตุหลักคือการสูบบุหรี่ รองลงมาจากมลพิษทางอากาศ ได้แก่ โรคหอบหืด โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และโรคมะเร็งปอด จากข้อมูลด้านสุขภาพอ้างอิงจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงยบาแด และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนิบงบารูพบว่าอัตราผู้ป่วยเกี่ยวกับทางเดินหายใจในพื้นที่เทศบาล เมืองสะเตงนอกย้อนหลัง 3 ปี มีผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาเกี่ยวกับทางเดินหายใจ ในปี 2565 จำนวน 3,452 ราย ปี 2566 จำนวน 4,370 ราย และปี 2567 จำนวน 4,899 ราย มีแนวโน้มสูงขึ้นและกลุ่มที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลที่อาจเกิดผลกระทบต่อการดำรงชีพและอาจเกิดโรคได้ง่าย ได้แก่กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ที่มีโรคประจำตัวที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคได้ง่าย ด้วยเหตุผลข้างต้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสะเตงนอก จึงจัดทำโครงการป้องกันและดูแลสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อเป็นการป้องกันการเกิดโรคทางเดินหายใจจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5)
- 2 เพื่อให้ประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ในการดูแลสุขภาพของตนเองและสามารถป้องกันตนเองจากอันตรายของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนความรู้ในการดูแลตัวเอง และสามารถป้องกันตนเองจากอันตรายของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนในพื้นที่ ได้รับการป้องกันอันตรายของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5)
ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตัวเอง และสามารถป้องกันตนเองจากจากอันตรายของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5)
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1 เพื่อเป็นการป้องกันการเกิดโรคทางเดินหายใจจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5)
ตัวชี้วัด :
0.00
2
2 เพื่อให้ประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ในการดูแลสุขภาพของตนเองและสามารถป้องกันตนเองจากอันตรายของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5)
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อเป็นการป้องกันการเกิดโรคทางเดินหายใจจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) (2) 2 เพื่อให้ประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ในการดูแลสุขภาพของตนเองและสามารถป้องกันตนเองจากอันตรายของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนความรู้ในการดูแลตัวเอง และสามารถป้องกันตนเองจากอันตรายของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันและดูแลสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอับดุลรอฟิด หะยีดือเระ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันและดูแลสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลรอฟิด หะยีดือเระ
พฤษภาคม 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 21/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 พฤษภาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและดูแลสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและดูแลสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและดูแลสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 พฤษภาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันได้เกิดสถานการณ์หมอกควันและฝุ่นละอองขนาดเล็ก(PM 2.5) เกินค่ามาตรฐานขึ้น ในหลายพื้นที่ของประเทศไทย อันมีผลกระทบต่อสาธารณชนก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและร่างกาย ของประชาชน ปัญหาหมอกควันและฝุ่นละอองทำให้คนที่อยู่ในที่โล่งนานๆมีอาการแสบตา ตาแดง น้ำตาไหล คอแห้งระคายคอ หายใจติดขัด เหนื่อยง่าย แน่นหน้าอก ซึ่งฝุ่นขนาดเล็กเป็นทั้งสาเหตุและปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคอันตรายต่อปอดและระบบทางเดินหายใจ สาเหตุหลักคือการสูบบุหรี่ รองลงมาจากมลพิษทางอากาศ ได้แก่ โรคหอบหืด โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และโรคมะเร็งปอด สถานการณ์ดังกล่าวมีสาเหตุมาจากหลายๆปัจจัย เช่น การขนส่งและการจราจร การเกิดไฟป่า การเผาในที่โล่งแจ้ง การก่อสร้างที่ไม่มีการควบคุมการฟุ้งกระจายของฝุ่น เป็นต้น ปัญหาการเกิดหมอกควันและฝุ่นละอองในพื้นที่เทศบาลเมืองสะเตงนอก มาจากปัจจัยหลายๆอย่าง ได้แก่ควันพิษจากโรงงาน การขนส่งและการจราจร และการเผาในที่โล่ง (Open Burning) ที่เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากการเผาขยะ การเผาเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรเพื่อเตรียมพื้นที่สำหรับการเพาะปลูกในช่วงฤดูฝน การเผาพื้นที่เพื่อประโยชน์ต่อการทำการเกษตร นอกจากจะส่งผลกระทบด้านสุขภาพแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อทรัพย์สินที่อยู่พื้นที่ใกล้เคียง
จากปัจจัยที่กล่าวข้างต้นล้วนก่อให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพกับประชาชน ซึ่งฝุ่นขนาดเล็กเป็นทั้งสาเหตุและปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคอันตรายต่อปอดและระบบทางเดินหายใจ สาเหตุหลักคือการสูบบุหรี่ รองลงมาจากมลพิษทางอากาศ ได้แก่ โรคหอบหืด โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และโรคมะเร็งปอด จากข้อมูลด้านสุขภาพอ้างอิงจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงยบาแด และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนิบงบารูพบว่าอัตราผู้ป่วยเกี่ยวกับทางเดินหายใจในพื้นที่เทศบาล เมืองสะเตงนอกย้อนหลัง 3 ปี มีผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาเกี่ยวกับทางเดินหายใจ ในปี 2565 จำนวน 3,452 ราย ปี 2566 จำนวน 4,370 ราย และปี 2567 จำนวน 4,899 ราย มีแนวโน้มสูงขึ้นและกลุ่มที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลที่อาจเกิดผลกระทบต่อการดำรงชีพและอาจเกิดโรคได้ง่าย ได้แก่กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ที่มีโรคประจำตัวที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคได้ง่าย ด้วยเหตุผลข้างต้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสะเตงนอก จึงจัดทำโครงการป้องกันและดูแลสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อเป็นการป้องกันการเกิดโรคทางเดินหายใจจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5)
- 2 เพื่อให้ประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ในการดูแลสุขภาพของตนเองและสามารถป้องกันตนเองจากอันตรายของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนความรู้ในการดูแลตัวเอง และสามารถป้องกันตนเองจากอันตรายของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนในพื้นที่ ได้รับการป้องกันอันตรายของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตัวเอง และสามารถป้องกันตนเองจากจากอันตรายของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5)
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1 เพื่อเป็นการป้องกันการเกิดโรคทางเดินหายใจจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | 2 เพื่อให้ประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ในการดูแลสุขภาพของตนเองและสามารถป้องกันตนเองจากอันตรายของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อเป็นการป้องกันการเกิดโรคทางเดินหายใจจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) (2) 2 เพื่อให้ประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ในการดูแลสุขภาพของตนเองและสามารถป้องกันตนเองจากอันตรายของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนความรู้ในการดูแลตัวเอง และสามารถป้องกันตนเองจากอันตรายของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันและดูแลสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอับดุลรอฟิด หะยีดือเระ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......