กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็ก ๐ – ๕ ปี ได้รับการส่งเสริมภาวะโภชนาการ การประเมินพัฒนาการ ที่ถูกต้องตามวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็ก ๐ – ๕ ปี ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะโภชนาการ และได้การประเมินพัฒนาการ ที่ถูกต้องตามช่วงวัย
90.00 100.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครองที่มีลูก ๐ – ๕ ปี เกิดความรู้ ความเข้าใจ การเลี้ยงลูกให้มีภาวะโภชนาการดี พัฒนาการสมวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ปกครองที่มีลูก ๐ – ๕ ปี ได้รับความรู้ ความเข้าใจ การเลี้ยงลูกให้มีภาวะโภชนาการดี พัฒนาการสมวัย
60.00 100.00

 

3 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามเด็ก 0-5 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการ ได้รับส่งเสริมเพื่อให้มีโภชนาการที่ดีขึ้น
80.00 100.00

 

4 เพื่อให้เด็ก ๐ – ๕ ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ ตามช่วงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็ก ๐ – ๕ ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการตามช่วงอายุ
90.00 100.00

 

5 เพื่อให้ผู้ปกครองมีช่องทางในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ปรึกษา ด้านโภชนาการ และพัฒนาการของลูก 0-5 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ปกครองเข้าร่วมกลุ่มไลน์ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ด้านโภชนาการ และพัฒนาการของลูกวัย 0-5 ปี
80.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็ก ๐ – ๕ ปี ได้รับการส่งเสริมภาวะโภชนาการ การประเมินพัฒนาการ ที่ถูกต้องตามวัย (2) เพื่อให้ผู้ปกครองที่มีลูก ๐ – ๕ ปี เกิดความรู้ ความเข้าใจ การเลี้ยงลูกให้มีภาวะโภชนาการดี พัฒนาการสมวัย (3) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามเด็ก 0-5 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ (4) เพื่อให้เด็ก ๐ – ๕ ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ ตามช่วงอายุ (5) เพื่อให้ผู้ปกครองมีช่องทางในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ปรึกษา ด้านโภชนาการ และพัฒนาการของลูก 0-5 ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมอสม. ชี้แจงโครงการรูปแบบการดำเนินงานและประชาสัมพันธ์โครงการ (2) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการส่งเสริมสุขภาพเด็กเพื่อโภชนาการ และพัฒนาการที่สมวัย ครอบคลุมทั้ง 5 ด้าน (โภชนาการ พัฒนาการ ฟัน วัคซีน และภาวะซีดในเด็ก) ให้ผู้ปกครองที่มีบุตรอายุ 0-5 ปี (3) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อแก้ไขภาวะทุพโภชนาการ ให้ผู้ปกครองที่มีบุตรภาวะทุพโภชนาการ ในกลุ่มอายุ 3-5 ปี (4) จัดตั้งกลุ่มไลน์ ลูกรักสุขภาพดี เพื่อส่งเสริมการบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ (5) จัดประกวดสุขภาพเด็กดี (6) ส่งเสริมการบริโภคอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วน เพื่อกระตุ้นการเจริญเติบโตในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (7) ติดตามการเจริญเติบโตในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ และพัฒนาการสงสัยล่าช้าทุกเดือน โดย อสม.ในพื้นที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh