โครงการอบรมให้ความรู้พ่อ แม่ ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก เพื่อป้องกันโรคสมาธิสั้นและออทิสติกเทียมในเด็กปฐมวัย ปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการอบรมให้ความรู้พ่อ แม่ ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก เพื่อป้องกันโรคสมาธิสั้นและออทิสติกเทียมในเด็กปฐมวัย ปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัรกัส |
วันที่อนุมัติ | 6 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤษภาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 19,745.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายมุกตาร์ มายิ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 48 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 54 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
“เด็กปฐมวัย” ถือเป็นช่วงวัยที่สำคัญที่สุดและจำเป็นที่สุดของการวางรากฐานของการพัฒนาในด้านต่างๆ เพื่อให้เด็กปฐมวัยเกิดการพัฒนาได้อย่างเต็มศักยภาพ มีความสมบูรณ์พร้อม มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ตลอดจนการแสดงพฤติกรรมอย่างเหมาะสม เด็กปฐมวัยจึงสมควรได้รับการพัฒนาอย่างรอบด้าน อย่างมีคุณภาพ ตามศักยภาพ ตามวัย และควรได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตาม ทักษะที่เด็กปฐมวัยควรมี
ในยุคสมัยใหม่ เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มีสะดวกสบายมากขึ้น และหลายคนก้มหน้าเข้าหาเทคโนโลยีมากขึ้น สิ่งที่น่ากังวลมากที่สุดสำหรับเด็กยุคสมัยใหม่นี้ เป็นเรื่องของการที่เด็กก้มหน้าดูแต่จอ ซึ่งอาจเป็นภัยร้าย มากกว่าผลดีต่อตัวเด็ก แต่ผู้ปกครองหลายบ้าน ไม่ว่าจะเป็นตัวพ่อแม่เอง หรือปู่ ย่า ตา ยาย ผู้เลี้ยงดูเด็ก ก็มักหยิบยื่นมือถือ แท็บแล็ตให้เด็ก เพื่อให้เด็กอยู่นิ่ง หรือใช้เกลี้ยกล่อมเวลาป้อนข้าว ซึ่งอาจได้ความสบายผู้ใหญ่ เด็กกินข้าว อยู่สงบ แต่นั่นเป็นการทำร้ายเด็กทางอ้อม เรียกได้ว่า พ่อแม่รังแกฉัน เพราะการที่เด็ก ดูโทรทัศน์หรือใช้หน้าจอสื่อออนไลน์ผ่านโทรศัพท์มากไป มองภาพที่เคลื่อนไหวอย่างรวดเร็วในจอบ่อยๆ เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดโรคสมาธิสั้นหรือออทิสติกเทียมตามมาได้
ปัญหาพัฒนาการเด็กล่าช้าเป็นปัญหาสำคัญระดับโลก ประเทศ และภายในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สาเหตุของการเกิดการพัฒนาการที่ล่าช้าในเด็กส่วนใหญ่เกิดจากการเลี้ยงดูที่ขาดความรู้และประสบการณ์ และไม่ได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการจากผู้เกี่ยวข้องอย่างมีคุณภาพและคลอบคลุม ประมาณ 10% เกิดจากโรคทางพันธุกรรม ซึ่งปัญหาของพัฒนาการเด็กที่ล่าช้านั้นส่งผลกระทบต่อทั้งตัวเด็กเองเสียโอกาสที่จะมีการพัฒนาก้าวหน้าตามวัย พัฒนาการล่าช้าไม่สมวัย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจให้พ่อ แม่ ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก สามารถใช้ชุดคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 100 ของพ่อ แม่ ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก ใช้ชุดคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยได้อย่างถูกต้อง |
0.00 | |
2 | 2. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจให้พ่อ แม่ ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กเกี่ยวกับป้องกันและส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมาธิสั้นและออทิสติกเทียม ร้อยละ 100 พ่อ แม่ ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันและส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมาธิสั้นและออทิสติกเทียม |
0.00 | |
3 | 3. เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน เหมาะสมตามวัย ร้อยละ 100 เด็กมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน เหมาะสมตามวัย |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 19,745.00 | 0 | 0.00 | |
??/??/???? | กิจกรรมอบรมให้ความรู้ | 0 | 19,745.00 | - |
- พ่อ แม่ ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กสามารถใช้ชุดคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยได้อย่างถูกต้องและมีความรู้ในการป้องกันและส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมาธิสั้นและออทิสติกเทียม
- เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน คือด้านร่างกาย ด้านสังคม ด้านอารมณ์ จิตใจและด้านสติปัญญา
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มี.ค. 2568 10:28 น.