กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการยุโปร่วมใจดูแลใส่ใจเรื่องมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก
รหัสโครงการ 68-L4139-02-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
วันที่อนุมัติ 21 กุมภาพันธ์ 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 33,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ เกศินี ไชยหมาน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.597,101.283place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

มะเร็งปากมดลูกเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย โดยพบเป็นอันดับ 2 ของมงมะเร็งใน ย รองจากมะเร็งเต้านม จากรายงานของ WHO/ICO Information Centre on HPV and Cerv (HPV Information Centre), Human Papillomavirus and Related Cancers in Thailand, Summany Report 2010 ได้รายงานในปี พ.ศ.2551 ประเทศไทยมีประชากรสตรีที่เสี่ยงต่อมะเร็งปากมดลูก 26.09 ล้านคน มีอายุตั้งแต่ 15 ปี ขึ้นไป มีจำนวนผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ปีละ 9,999 ราย เสียชีวิต 5,216 ราย หรือประมาณร้อยละ 53 อาคิดเป็นวันแล้วจะมีสตรีไทยเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกเฉลี่ยวันละ 14 คน ในปัจจุบันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเป็นสาเหตุการตายจากโรคมะเร็งของสตรีในประเทศ ไทย ซึ่งทำให้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ โดยเฉพาะโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับหนึ่งของ มะเร็งในสตรี พบได้ถึง 3 คน ในประชากรหนึ่งแสนคน ในแต่ละปีมีผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกเสียชีวิต ประมาณ 5,500 ราย ส่วนใหญ่มีอายุประมาณ 30 - 50 ปี ซึ่งที่ผ่านมาใช้วิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยการ ตรวจ Pap Smear และหากท้าทุก 2 ปี สามารถลลดการเป็นมะเร็งระยะลุกลามได้ 92 % ถึงแม้กระบวนการ ตรวจเพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูก จะง่าย สะดวก ราคาถูก แต่ยังพบว่าสตรีจำนวนมากไม่เห็นความสำคัญ ทัศนคติที่ไม่ดีต่อการตรวจ Pap Smear ส่วนโรคมะเร็งเร็งเต้านม ผู้ ผู้ป่วยมักไม่มีอาการผิดปกติในระยะเริ่มต้น ดังนั้น จึงมีความจ้าเป็นและสำคัญที่ต้องทำการตรวจค้นหามะเร็งเร็งเต้านมใน ระยะเริ่มต้น การรักษามะเร็งเต้านมในปัจจุบันมี ความก้าวหน้าไปมาก การค้นพบมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มต้นสามารถรักษาให้หายขาดได้ และการรักษาอาจ าได้โดยการตัดเฉพาะก้อนมะเร็งออกไม่จำเป็นต้องผ่าตัดทั้งเต้านม ในทางตรงกันข้ามหากไม่มีการตรวจค้นหามะเร็ง เค้านม รอจนกระทั่งมีอาการผิดปกติ มะเร็งอาจแพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่น ๆ แล้ว และไม่สามารถรักษาให้หายขาด สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เห็นความสำคัญของปัญหาจึงให้การสนับสนุนนงบประมาณการ สาเนินงานโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่กระทรวงสาธารณสุข โดยมอบให้สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการ แพทย์ ดำเนินโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี Pap smear และ VIA ในสตรีไทยอายุ 30-60 ปี าหนดเกณฑ์ตัวชี้วัด ร้อยละของสตรี 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกร่องมะเร็งปากมดลูกสะสม ปีงบประมาณ 2564- 567 ร้อยละ 100 สถานการณ์ การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 - 60 ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ รงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยุโป พบว่ากลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปี 2564 สะสม รอยละ 36:45 และ ปี 2565 สะสมร้อยละ 55.75 ปี 2566 ละสมร้อยละ 65.15 ปี 2567 ละสมร้อยละ 72.78 กกข้อมูลดังกล่าวจะเห็นว่า กลุ่มคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่ยังไม่เข้ารับการตรวจฯจะเป็นกลุ่มที่ยากต่อการติดตามเข้า รับบริการ และการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองที่ไม่พบความผิดปกติ อาจเกิดจาก การตรวจที่ไม่ถูกต้อง ผิวคนิคหรือแบบการตรวจคัดกรองที่มีความชับซ้อนไม่เข้าใจ พร้อมทั้งกลุ่มเป้าหมาย และ อสม. ยังขาดความรู้ความ ข้าใจในเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านร่วมกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยุโป ได้จัดทำโครงการ อุโปร่วมใจดูแลใส่ใจมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมตลูก เพื่อใช้เป็น นวทางในการสร้างเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแบบยั่งยืนต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และตะหนักถึงอันตรายของมะเร็ง

1.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจ ถึงอันตรายของมะเร็ง และสามารถตรวจคัดกรองเบื้องต้นด้วยตนเองได้

2 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถตรวจมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกเบื้องต้นด้วยตนเองได้

2.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายสามารถตรวจมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกได้ถูกต้อง

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และตะหนักถึงอันตรายของมะเร็ง

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถตรวจมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกเบื้องต้นด้วยตนเองได้

รวม 0 0.00 0 0.00

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สตรีกลุมเป้าหมายมีความรู้และใส่ใจการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน สามารถจัดการสุขภาพตนเองโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสม 2.สตรีอายุ 30- 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกเพื่อค้นหา Cell ผิดปกติของปากมดลูก 3.สตรีที่ตรวจพบมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้รับการรักษาและติดตามเยี่ยมทุกราย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 มี.ค. 2568 08:50 น.