กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในชุมชน ปี 2568 ”
ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางเกศินี ไชยหมาน




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในชุมชน ปี 2568

ที่อยู่ ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4139-02-04 เลขที่ข้อตกลง 04/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในชุมชน ปี 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยุโป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในชุมชน ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในชุมชน ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4139-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยุโป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสมุนไพรไทย ถูกนำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปสะดวกใช้หลากหลายประเภทตามแต่ สรรพคุณ ตั้งแต่ใช้เป็นยาประจำบ้าน เป็นอาหาร อาหารเสริม เครื่องดื่มบำรุงสุขภาพ รวมทั้งเป็นสมุนไพรชจัด และเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อความงาม นำมาขัด พอก บำรุงรักษาผิวพรรณเป็นต้น ประกอบกับก สขภาพกำลังมาแรง จึงเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำไปใช้ในกิจการสปา เกิดเป็นธุรกิจ ต่อเมือง สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้ประเทศปีละไม่น้อย และนับวันยิ่งทวีความต้องการมากขึ้น อย่างไรก็ตาม สมุนไพรนอกจากใช้งานผลิตภัณฑ์เพื่อความงาม บำรุงรักษาสุขภาพแล้ว ผลิตภัณฑ์อีกประเภทหนึ่งที่กำลังเป็นที่นิยม สร้างรายได้ให้กับชุมชนและเป็นความต้องการของต่างประเทศ ได้แก่ ลูกประคบสมุนไพร ซึ่งมีสรรพคุณช่วยบรรเทา อาการปวดเมื่อย ลดอาการปวดบวม อักเสบ และการเกร็งของกล้ามเนื้อ กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตได้เป็นอย่าง บรรเทาอาการหวัด รักษาเม็ดผดผื่นคัน ฯลฯ ภูมิปัญญาด้านพืชสมุนไพรเป็นสิ่งที่อยู่คู่คนไทยมานับพันปี เนื่องจากอดีตกาลคนไทยเมื่อเกิดการ เจ็บป่วยขึ้นจะมีการนำสมุนไพรมาใช้ในการรักษาเบื้องต้นหรือรักษาพยาบาลกับหมอพื้นบ้านในหมู่บ้านตนเอง เพื่อ ปรรเทาอาการเจ็บป่วยโดยอาศัยภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมาหลายอายุชั่วคน แตาเมื่อการแพทย์แผนปัจจุบันเริ่มเข้ามา สืบทบาทในบ้านเรา ภูมิปัญญาความรู้ด้านการใช้ยาสมุนไพรจึงถูกลดความสำคัญลง และทำให้เยาวชนรุ่นหลังรู้จัก สมุนไพรไทยน้อยมาก และแพทย์ไม่รู้เลยทั้งๆที่สมุนไพรเหล่านั้นอยู่ใกล้ตัวเรานี้เอง และในบางครั้งก็มีการนำสมุนไพร าใช้อย่างถูกวิธี ผิดโรค ทำให้ไม่เห็นผลการรักษาที่ดีขึ้นจึงเลิกใช้ยาสมุนไพรไป แต่ในปัจปัจบันการแพทย์แผนไทย ได้แก่ การนวด การอบ ประคบสมุนไพร การแปรูปสมุนไพรมาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ และยารักษาโรค การปลูก สมุนไพรเพื่อนำมาใช้เอง การใช้ยาสมุนไพรแทนยาแผนปัจจุบันจากการดำเนินงานแพทย์แผนไทยของโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบลยุโป ปี 2565 พบว่ามีบริการผู้ป่วยนอก จำนวน'5,476 ครั้ง บริการแพทย์แผนไทย จำนวน 24492 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 44.50 ปี 2566 พบว่ามีบริการผู้ป่วยนอก จำนวน 3,728 ครั้ง บริการแพทย์แผนไทย จำนวน 1 1,263 ครั้ง ครั้นร้อยละ 33:38 2567 พบว่าฉัเในภิหรป่วยนอก จำนวน 5,856 ครั้ง บริการมทรย์ย์ แผนไทย จำนวน 1,860 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 31.87 จากข้อมูลดังกล่าว ชมรม อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ร่วมกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ บลยุโป ได้เห็นถึงความสำคัญในการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในชุมชน เพื่อลดการใช้ยาบางอย่าง เช่น ย อักเสบ กล้ามเนื้อและข้อฯลฯ และเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักการปลูกพืชสมุนไพรไข้ครัวเรือน จึงได้จัดทำ ใครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในชุมชน ปี 2568 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้สมุนไพร
  2. 2.เพื่อให้ประชาชนใช้ยาสมุนไพรอย่างถูกต้องและปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชาชนสามารถดูแลตนเองและครอบครัวด้วยยาสมุนไพรเมื่อเจ็บป่วยได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย 2.เพือให้ประชาชนสามารถผลิต ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรใช้เองและจำหน่ายในชุมชนได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้สมุนไพร
    ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับยาสมุนไพร และใช้ยาสมุนไพรแทนการใช้ยาแผนปัจจุบันรักษาอาการเบื้องต้น อย่างน้อยร้อยละ 40

     

    2 2.เพื่อให้ประชาชนใช้ยาสมุนไพรอย่างถูกต้องและปลอดภัย
    ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนให้ความสนใจและนำสมุนไพรในชุมชนมาใช้ประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมได้อย่างปลอดภัย

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้สมุนไพร (2) 2.เพื่อให้ประชาชนใช้ยาสมุนไพรอย่างถูกต้องและปลอดภัย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในชุมชน ปี 2568 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 68-L4139-02-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางเกศินี ไชยหมาน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด