โครงการส่งเสริมการเล่นกีฬาฟุตบอลเพื่อสุขภาพ ต้านภัยห่างไกลบุหรี่ ยาเสพติดและสิ่งอบายมุข
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการเล่นกีฬาฟุตบอลเพื่อสุขภาพ ต้านภัยห่างไกลบุหรี่ ยาเสพติดและสิ่งอบายมุข ”
หัวหน้าโครงการ
นายภุชงค์ นิลประเสริฐ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการเล่นกีฬาฟุตบอลเพื่อสุขภาพ ต้านภัยห่างไกลบุหรี่ ยาเสพติดและสิ่งอบายมุข
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3068-10(2)-07 เลขที่ข้อตกลง 06/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการเล่นกีฬาฟุตบอลเพื่อสุขภาพ ต้านภัยห่างไกลบุหรี่ ยาเสพติดและสิ่งอบายมุข จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการเล่นกีฬาฟุตบอลเพื่อสุขภาพ ต้านภัยห่างไกลบุหรี่ ยาเสพติดและสิ่งอบายมุข
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการเล่นกีฬาฟุตบอลเพื่อสุขภาพ ต้านภัยห่างไกลบุหรี่ ยาเสพติดและสิ่งอบายมุข " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L3068-10(2)-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผน พัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 ได้กำหนดให้ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัวและชุมชน ทำหน้าที่ส่งเสริมศักยภาพของเยาวชนให้มีสายอาชีพที่มั่นคง เป็นคนดีของสังคม และการกำหนดให้กีฬาเป็นกิจกรรมที่สำคัญที่ต้องสอดแทรกกระบวนการเรียนรู้นอกห้องเรียน และนโยบายของรัฐบาลและภารกิจสำคัญของกระทรวงมหาดไทย ต้องการให้มีการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน เพื่อป้องกันปัญหายาเสพติด รวมทั้งสนับสนุนการพัฒนาระบบสาธารณสุขปฐมภูมิ เพื่อสร้างเสริมสุขภาพเชิงป้องกัน เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ เทคนิคและทักษะกีฬาฟุตบอลที่ได้มาตรฐาน และ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะกีฬา ให้เยาวชนมีพื้นฐานการเล่นที่ถูกต้อง ประโยชน์ของการเล่นฟุตบอลช่วยป้องกันโรคหัวใจและสมองขาดเลือด เพราะหลอดเลือดในผู้ที่ออกกำลังกายจะมีความยืดหยุ่นดี มีโอกาสเกิดหลอดเลือดแข็งและตีบตันได้น้อย ไขมันในเลือดลดลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงหัวใจและสมองไม่ตีบตัน โอกาสที่จะเป็นโรคหัวใจขาดเลือดก็จะลดลง รวมไปถึงโอกาสในการเกิด Stroke หรือโรคสมองขาดเลือด และการมีเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ไม่หยุดนิ่ง ส่งผลให้เด็กมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง มีความสนใจเทคโนโลยีในรูปของโทรทัศน์ เกม คอมพิวเตอร์ อีกทั้งยังมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง กล่าวคือ ชอบบริโภคขนมขบเคี้ยวไม่ค่อยเคลื่อนไหวร่างกาย ขาดการออกกำลังกายที่เหมาะสมทำให้การเจริญเติบโตของร่างกายผิดปกติ และส่งผลให้เด็กมีสุขภาพทั้งทางด้านร่างกายจิตใจที่ไม่สมบูรณ์แข็งแรง เสี่ยงต่อการเป็นโรคอ้วนและเบาหวานก่อนวัยอันควรเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นการส่งเสริมให้เด็กเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพแข็งแรงในวันหน้า จะต้องคำนึงถึงการส่งเสริมการออกกำลังกาย เพื่อให้เด็กเจริญเติบโตอย่างสมวัย มีพลานามัยสมบูรณ์ แข็งแรง เป็นที่ทราบกันดีว่า การที่เด็กมีการเคลื่อนไหวร่างกาย และออกกำลังกายที่เหมาะสม ช่วยส่งเสริมให้มีการเจริญเติบโตของระบบกระดูก ระบบกล้ามเนื้อ และระบบข้อต่อของร่างกาย ทำให้เกิดผลดีต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด การควบคุมน้ำหนัก รวมไปถึงการส่งเสริมสุขภาพจิต และเป็นการสร้างนิสัยการออกกำลังกายให้มีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ กิจกรรมหนึ่งที่กระตุ้นให้เด็กและเยาวชนได้ตระหนักและปลูกฝังนิสัยการออกกำลังกาย คือ การทำกิจกรรมออกกำลังกายที่ง่ายๆ และสนุกเป็นประจำแทบทุกวันเพื่อเป็นการจูงใจให้มีการออกำลังกายอย่างสม่ำเสมอนั่นคือการเล่นกีฬาฟุตบอลเนื่องจากเป็นกีฬาที่ช่วยทำให้ระบบต่าง ๆ ภายในร่างกายทำงานอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เช่น ระบบกล้ามเนื้อ ระบบการหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบไหลเวียนโลหิตดีขึ้น เพราะการเล่นฟุตบอลนั้นจะได้ใช้ส่วนต่างๆ ของร่างกายทั้งหมด นอกจากนี้ กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกายจะเป็นกิจกรรมที่ให้ความรู้ทักษะและสร้างเจตคติที่ดีในการดูแลสุขภาพร่างกาย สมรรถภาพทางกายเป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญยิ่งสำหรับการดำรงชีพในปัจจุบัน เมื่อบุคคลมีความสมบูรณ์ทั้งด้านร่างกายและจิตใจแล้วการดำเนินชีวิตก็จะมีความสุขและมีประสิทธิภาพ นั่นก็คือการมีสมรรถภาพทางกายที่ดีทำให้มีสุขภาพดี ร่างกายมีการเจริญเติบโตแข็งแรง มีประสิทธิภาพ การทำงานของระบบไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจประสานสัมพันธ์กันดี และลดอัตราเสี่ยงเป็นโรคต่างๆ อีกทั้งยังทำให้ร่างกายได้สัดส่วน มีทักษะทางกีฬาที่ดี ทำให้เกิดความสนุกสนานกับการเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายและกีฬา โรงเรียนวัดสถิตย์ชลธาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1 ได้เล็งเห็นความสำคัญและความจำเป็นของการสร้างเสริมสุขภาพของเด็กวัยเรียนจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการเล่นกีฬาฟุตบอลเพื่อสุขภาพต้านภัยห่างไกลยาเสพติดโรงเรียนวัดสถิตย์ชลธาร เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัยเรียนให้มีสุขภาพที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ ห่างไกลโรค เกิดความรักสามัคคีในหมู่คณะ หลีกเลี่ยงจากสิ่งเสพติดและอบายมุขนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้เรื่องทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอล และรู้เรื่องของยาเสพติดชนิดต่างๆ โทษของยาเสพติดและการหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด
- ส่งเสริมการเล่นกีฬาฟุตบอลระยะเวลา 2 เดือน (ตั้งแต่เดือนมิถุนายน – กรกฎาคม 2568)
- ติดตามประเมินผล นักเรียนที่เข้าร่วมจากการออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอลต่อเนื่องอย่างน้อย 2 เดือน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
24
กลุ่มวัยทำงาน
1
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ทำให้เด็กวัยเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง เสริมสร้างสมรรถภาพของร่างกาย สุขภาพจิตที่ดี
- นักเรียนเกิดการพัฒนาทักษะกีฬาฟุตบอล ความรู้ เทคนิคและรู้วิธีการป้องกันการบาดเจ็บที่อาจจะเกิดขึ้น
- นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และเป็นแบบอย่างที่ดีของสังคม
- นักเรียนได้รับความรู้ในเรื่องของยาเสพติดชนิดต่างๆ โทษของยาเสพติดและการหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
25
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
24
กลุ่มวัยทำงาน
1
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอล และรู้เรื่องของยาเสพติดชนิดต่างๆ โทษของยาเสพติดและการหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด (2) ส่งเสริมการเล่นกีฬาฟุตบอลระยะเวลา 2 เดือน (ตั้งแต่เดือนมิถุนายน – กรกฎาคม 2568) (3) ติดตามประเมินผล นักเรียนที่เข้าร่วมจากการออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอลต่อเนื่องอย่างน้อย 2 เดือน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการเล่นกีฬาฟุตบอลเพื่อสุขภาพ ต้านภัยห่างไกลบุหรี่ ยาเสพติดและสิ่งอบายมุข จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3068-10(2)-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายภุชงค์ นิลประเสริฐ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการเล่นกีฬาฟุตบอลเพื่อสุขภาพ ต้านภัยห่างไกลบุหรี่ ยาเสพติดและสิ่งอบายมุข ”
หัวหน้าโครงการ
นายภุชงค์ นิลประเสริฐ
กันยายน 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3068-10(2)-07 เลขที่ข้อตกลง 06/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการเล่นกีฬาฟุตบอลเพื่อสุขภาพ ต้านภัยห่างไกลบุหรี่ ยาเสพติดและสิ่งอบายมุข จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการเล่นกีฬาฟุตบอลเพื่อสุขภาพ ต้านภัยห่างไกลบุหรี่ ยาเสพติดและสิ่งอบายมุข
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการเล่นกีฬาฟุตบอลเพื่อสุขภาพ ต้านภัยห่างไกลบุหรี่ ยาเสพติดและสิ่งอบายมุข " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L3068-10(2)-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผน พัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 ได้กำหนดให้ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัวและชุมชน ทำหน้าที่ส่งเสริมศักยภาพของเยาวชนให้มีสายอาชีพที่มั่นคง เป็นคนดีของสังคม และการกำหนดให้กีฬาเป็นกิจกรรมที่สำคัญที่ต้องสอดแทรกกระบวนการเรียนรู้นอกห้องเรียน และนโยบายของรัฐบาลและภารกิจสำคัญของกระทรวงมหาดไทย ต้องการให้มีการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน เพื่อป้องกันปัญหายาเสพติด รวมทั้งสนับสนุนการพัฒนาระบบสาธารณสุขปฐมภูมิ เพื่อสร้างเสริมสุขภาพเชิงป้องกัน เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ เทคนิคและทักษะกีฬาฟุตบอลที่ได้มาตรฐาน และ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะกีฬา ให้เยาวชนมีพื้นฐานการเล่นที่ถูกต้อง ประโยชน์ของการเล่นฟุตบอลช่วยป้องกันโรคหัวใจและสมองขาดเลือด เพราะหลอดเลือดในผู้ที่ออกกำลังกายจะมีความยืดหยุ่นดี มีโอกาสเกิดหลอดเลือดแข็งและตีบตันได้น้อย ไขมันในเลือดลดลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงหัวใจและสมองไม่ตีบตัน โอกาสที่จะเป็นโรคหัวใจขาดเลือดก็จะลดลง รวมไปถึงโอกาสในการเกิด Stroke หรือโรคสมองขาดเลือด และการมีเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ไม่หยุดนิ่ง ส่งผลให้เด็กมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง มีความสนใจเทคโนโลยีในรูปของโทรทัศน์ เกม คอมพิวเตอร์ อีกทั้งยังมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง กล่าวคือ ชอบบริโภคขนมขบเคี้ยวไม่ค่อยเคลื่อนไหวร่างกาย ขาดการออกกำลังกายที่เหมาะสมทำให้การเจริญเติบโตของร่างกายผิดปกติ และส่งผลให้เด็กมีสุขภาพทั้งทางด้านร่างกายจิตใจที่ไม่สมบูรณ์แข็งแรง เสี่ยงต่อการเป็นโรคอ้วนและเบาหวานก่อนวัยอันควรเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นการส่งเสริมให้เด็กเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพแข็งแรงในวันหน้า จะต้องคำนึงถึงการส่งเสริมการออกกำลังกาย เพื่อให้เด็กเจริญเติบโตอย่างสมวัย มีพลานามัยสมบูรณ์ แข็งแรง เป็นที่ทราบกันดีว่า การที่เด็กมีการเคลื่อนไหวร่างกาย และออกกำลังกายที่เหมาะสม ช่วยส่งเสริมให้มีการเจริญเติบโตของระบบกระดูก ระบบกล้ามเนื้อ และระบบข้อต่อของร่างกาย ทำให้เกิดผลดีต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด การควบคุมน้ำหนัก รวมไปถึงการส่งเสริมสุขภาพจิต และเป็นการสร้างนิสัยการออกกำลังกายให้มีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ กิจกรรมหนึ่งที่กระตุ้นให้เด็กและเยาวชนได้ตระหนักและปลูกฝังนิสัยการออกกำลังกาย คือ การทำกิจกรรมออกกำลังกายที่ง่ายๆ และสนุกเป็นประจำแทบทุกวันเพื่อเป็นการจูงใจให้มีการออกำลังกายอย่างสม่ำเสมอนั่นคือการเล่นกีฬาฟุตบอลเนื่องจากเป็นกีฬาที่ช่วยทำให้ระบบต่าง ๆ ภายในร่างกายทำงานอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เช่น ระบบกล้ามเนื้อ ระบบการหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบไหลเวียนโลหิตดีขึ้น เพราะการเล่นฟุตบอลนั้นจะได้ใช้ส่วนต่างๆ ของร่างกายทั้งหมด นอกจากนี้ กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกายจะเป็นกิจกรรมที่ให้ความรู้ทักษะและสร้างเจตคติที่ดีในการดูแลสุขภาพร่างกาย สมรรถภาพทางกายเป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญยิ่งสำหรับการดำรงชีพในปัจจุบัน เมื่อบุคคลมีความสมบูรณ์ทั้งด้านร่างกายและจิตใจแล้วการดำเนินชีวิตก็จะมีความสุขและมีประสิทธิภาพ นั่นก็คือการมีสมรรถภาพทางกายที่ดีทำให้มีสุขภาพดี ร่างกายมีการเจริญเติบโตแข็งแรง มีประสิทธิภาพ การทำงานของระบบไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจประสานสัมพันธ์กันดี และลดอัตราเสี่ยงเป็นโรคต่างๆ อีกทั้งยังทำให้ร่างกายได้สัดส่วน มีทักษะทางกีฬาที่ดี ทำให้เกิดความสนุกสนานกับการเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายและกีฬา โรงเรียนวัดสถิตย์ชลธาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1 ได้เล็งเห็นความสำคัญและความจำเป็นของการสร้างเสริมสุขภาพของเด็กวัยเรียนจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการเล่นกีฬาฟุตบอลเพื่อสุขภาพต้านภัยห่างไกลยาเสพติดโรงเรียนวัดสถิตย์ชลธาร เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัยเรียนให้มีสุขภาพที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ ห่างไกลโรค เกิดความรักสามัคคีในหมู่คณะ หลีกเลี่ยงจากสิ่งเสพติดและอบายมุขนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้เรื่องทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอล และรู้เรื่องของยาเสพติดชนิดต่างๆ โทษของยาเสพติดและการหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด
- ส่งเสริมการเล่นกีฬาฟุตบอลระยะเวลา 2 เดือน (ตั้งแต่เดือนมิถุนายน – กรกฎาคม 2568)
- ติดตามประเมินผล นักเรียนที่เข้าร่วมจากการออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอลต่อเนื่องอย่างน้อย 2 เดือน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 24 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 1 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ทำให้เด็กวัยเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง เสริมสร้างสมรรถภาพของร่างกาย สุขภาพจิตที่ดี
- นักเรียนเกิดการพัฒนาทักษะกีฬาฟุตบอล ความรู้ เทคนิคและรู้วิธีการป้องกันการบาดเจ็บที่อาจจะเกิดขึ้น
- นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และเป็นแบบอย่างที่ดีของสังคม
- นักเรียนได้รับความรู้ในเรื่องของยาเสพติดชนิดต่างๆ โทษของยาเสพติดและการหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 25 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 0 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 24 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 1 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอล และรู้เรื่องของยาเสพติดชนิดต่างๆ โทษของยาเสพติดและการหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด (2) ส่งเสริมการเล่นกีฬาฟุตบอลระยะเวลา 2 เดือน (ตั้งแต่เดือนมิถุนายน – กรกฎาคม 2568) (3) ติดตามประเมินผล นักเรียนที่เข้าร่วมจากการออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอลต่อเนื่องอย่างน้อย 2 เดือน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการเล่นกีฬาฟุตบอลเพื่อสุขภาพ ต้านภัยห่างไกลบุหรี่ ยาเสพติดและสิ่งอบายมุข จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3068-10(2)-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายภุชงค์ นิลประเสริฐ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......