directions_run
โครงการ ฟ.ฟันสวย ยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ
ชื่อโครงการ | โครงการ ฟ.ฟันสวย ยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ |
รหัสโครงการ | 68-L5202-10(1)-1 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลประกอบ |
วันที่อนุมัติ | 7 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 44,488.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวณัฏฐณิชา เจ๊ะเลาะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายสุธน โสระเนตร์ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.483,100.643place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 19 มี.ค. 2568 | 31 มี.ค. 2568 | 44,488.00 | |||
รวมงบประมาณ | 44,488.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 287 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปาก
|
0.00 | |
2 | 2.เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันเป็นประจำ ทุกวัน
|
0.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปาก |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 2.เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันเป็นประจำ ทุกวัน |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้
1.นักเรียนมีสภาวะทางทันตสุขภาพที่ดีขึ้น 2.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง 3.นักเรียนมีทัศนคติและพฤติกรรมที่ดีต่อการดูแลสุขภาพช่องปาก 4.มีกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง 5.นักเรียนสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากมากขึ้น 6.นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับบริการทันตกรรมอย่างถูกต้องเหมาะสม
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 มี.ค. 2568 13:36 น.
project version 4.4.01 release 2022-02-13. ช่วยเหลือ