โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 5
ชื่อโครงการ | โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 5 |
รหัสโครงการ | 04/2568 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรม อสม.บ้านสว่างอารมณ์ |
วันที่อนุมัติ | 25 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 38,300.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางหิรัญญา ศิริพงศ์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายรุ่งโรจน์ ศักดิ์มรกต |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลป่าขาด อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.241,100.469place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาสุขภาพที่เร่งด่วนของประชาชนที่ต้องได้รับการแก้ไข นอกจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อก็เป็นสาเหตุสำคัญของการตายและความพิการทำให้คุณภาพชีวิตของประชาชนลดลดลงและเกิดความสูญเสียทรัพยากรเป็นจำนวนมากในแต่ละปีได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเส้นเลือดโรคหัวใจขาดเลือด อัมพาต โรคเบาหวานและโรคมะเร็ง เป็นต้น การค้นหาและการตรวจสุขภาพของประชาชนตามกลุ่มอายุตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยสูงอายุเป็นภารกิจในเนินงานสร้างหลักสุขภาพถ้วนหน้าที่มุ่งเน้นให้ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดีสามารถพึ่งพาตนเองสุขภาพมากขึ้นโดยเน้นการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพโดยถือว่าสุขภาพเป็นเรื่องของประชาชนทุกคนสำหรับการตรวจสุขภาพในกลุ่มอายุต่าง ๆ ได้แก่ วัยทำงาน วัยทอง และวัยสูงอายุเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่เกิดจากพฤติกรรมเป็นส่วนใหญ่ อาทิ เช่น พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการทำงาน พฤติกรรมการสูบบุหรี่การบรีโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ รวมถึงภาวะเครียด โดยนโยบายระดับชาติเพื่อควบคุมโรคเหล่านี้คือการตรวจค้นหา คัดกรองสุขภาพของประชาชนและ การควบคุมปัจจัยเสี่ยงการเกิดของโรคเป็นสิ่งสำคัญ จากการดำเนินงานคัดกรองโรคเรื้อรังโดยอาสาสมัคร สาธารณสุขบ้านสว่างอารมณ์ หมู่ที่ ๔ - ๕ตำบลป้าขาด ในประชากรกลุ่มเป้าหมาย พบ โรคเบาหวาน และความตันโลหิตสูงเป็นปัญหาสุขภาพลำดับแรก จากผลการคัดกรอง โรคเบาหวาน และความตันโลหิตสูงประชากรกลุ่มเป้าหมาย ในชุมชน พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง และเป็นผู้ป่วยรายใหม่ ในทุกปี จากการสำรวจและคาดประมาณจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความตันโลหิตสูงพบว่าประชาชนยังขาดความตระหนักในการดูแลรักษาโรค ซึ่งส่วนใหญ่ประชาชนยังไม่ตระหนักถึงการดูแลและตรวจสุขภาพเพราะคิดว่าสุขภาพร่างกายแข็งแรงไม่มีอาการของโรค อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านสว่างอารมณ์ ต.ป้าชาด ได้ ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรค เรื้อรัง บ้านสว่างอารมณ์ หมู่ที่ ๔ - ๕ ตำบลปาชาดอำเภอสิงหนคร จังหวัดสงของขลา ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้กลุ่มเสียงโรคเรื้อรัง รู้วิธีการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องตัน
|
||
2 | 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ไม่เกิดภาวะแทรกข้อนเพิ่มขึ้น
|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1.เพื่อให้กลุ่มเสียงโรคเรื้อรัง รู้วิธีการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องตัน |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ไม่เกิดภาวะแทรกข้อนเพิ่มขึ้น |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้
- จัดทำโครงการเสนอเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ
- จัดประชุมชี้แจงผู้ที่เกี่ยวข้อง
- จัดทำเอกสารความรู้ วัสดุ และอุปกรณ์
- ประสานงานกับวิทยากร
- คัดกรองโรคเบาหวาน ความตันโลหิตสูงในหมู่บ้าน และจัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยง
- จัดอบรมให้ความรู้ กลุ่มเสี่ยง ติดตามกลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง ตรวจวัดซ้ำทุก ๓ เดือน
- ประสาน รพ.สต.บ้านสว่างอารมณ์ เพื่อส่งต่อกลุ่มสงสัยป่วยเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง
- ประเมินผล
- สรุป และส่งผลการดำเนินโครงการ
1.กลุ่มเป้าหมายในชุมชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เสี่ยงด้วยโรคเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง 2.ชุมชนสามารถป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยงจากโรคเรื้อรังต่างๆ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 มี.ค. 2568 09:27 น.