โครงการการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนตำบลป่าขาด
ชื่อโครงการ | โครงการการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนตำบลป่าขาด |
รหัสโครงการ | 07/2568 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรม อสม.รพ.สต.ป่าขาด |
วันที่อนุมัติ | 25 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 19,983.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางอินทิรา คงเมือง |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายกิตติพงษ์ มุสิกะพันธุ์ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลป่าขาด อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.241,100.469place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
หลักการและเหตุผล สารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์และสัตว์ คือ จะไปทำลาลายอวัยวะ ในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าเ สารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมี ไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จึงแสดงอาการต่างๆ ขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบ ภูมิคุ้มกัน เป็นต้นประชาชนหมู่ที่1-3 ตำบลป้าชาด ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ใช้ใน การเกษตรมากถึงร้อยละ80 ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่สวนผลไม้ และปลูกผักสวนครัว ผลกระทบจาก การใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืช จึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง และยังอยู่ในระดับที่รุนแรงและ สูงขึ้น อสม.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลป่าขาด ได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรก รับผิดชอบ จัดทำโครงการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรขึ้น เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือดเพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใด เพื่อทำการเฝ้า ระวังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้กลุ่มประชาชนที่ประกอบอาชีพเกษตกรและประชาชนทั่วไปได้รับการตรวจคัดกรองหาสารเคมีในเลือด
|
||
2 | 2 เพื่อให้ได้รับความรู้ ให้ทุกคนตระหนักถึงพิษภัยจากสารเคมีตกค้าง ลด ละ เลิก การใช้สารเคมีอันตราย ในการเกษตร
|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1. เพื่อให้กลุ่มประชาชนที่ประกอบอาชีพเกษตกรและประชาชนทั่วไปได้รับการตรวจคัดกรองหาสารเคมีในเลือด |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 2 เพื่อให้ได้รับความรู้ ให้ทุกคนตระหนักถึงพิษภัยจากสารเคมีตกค้าง ลด ละ เลิก การใช้สารเคมีอันตราย ในการเกษตร |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้
1.1 ประชุมคณะทำงานเพื่อกำหนดแนวทางในการดำเนินงาน 1.2 จัดทำโครงการเสนอขออนุมัติต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบล 1.3 ประสานกับหน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง 2 ขั้นดำเนินการ 2.1 เจาะเลือดตรวจหาสารเคมีเกษตรกรที่มีความเสียงจากการใช้สารเคมี 2.2 จัดให้ความรู้แก่เกษตรกรและประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยงจากการใช้สารเคมี ด้วย วิธีการใช้ สมุนไพรรางจืดในการกำจัดสารตกค้างในเลือ
1.ทำให้ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อสารเคมีกำจัดศัตรพืชได้รับการตรวจคัดกรอง และให้คำแนะนำเพื่อส่ง รักษาต่อ 2 ทำให้ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัยได้รับความรู้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 มี.ค. 2568 09:30 น.