โครงการเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยความดัน เบาหวาน
ชื่อโครงการ | โครงการเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยความดัน เบาหวาน |
รหัสโครงการ | 68-L4139-02-06 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน |
วันที่อนุมัติ | 21 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 15,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวพนิดา พัดคง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.597,101.283place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 120 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคเรื้อรังหรือโรคไม่ติดต่อเป็น โรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตประจำวันที่มีพฤติกรรมเสี่ยง ได้แก่ การสูบ บทธิ์ การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ การไม่ ออกกำลังกาย การรับประทานอาหารที่มีรสเหวาน มัน เค็มจัด รวมถึง ความเครียด ที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคร้าย ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมองและหัวใจ มะเร็ง ถุงสมโป่งพองและ โรคอ้วนลงพุง และทำให้ อายุไขของคนป่วยกลุ่มนี้จะมีอายุต่ำกว่า 60 ปี จากสถิติพบว่า คนไทย เสียชีวิตด้วยโรคกลุ่มดังกล่าวมากกว่าปี ละ 3 แสนคน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยคิดเป็นร้อยละ 73 ของ สาเหตุการเสียชีวิตของคนไทย โดยทั่วโลกมีสาเหตุการตายด้วยโรคกลุ่มดังกล่าวคิดเป็นร้อยละ 63 ของสาเหตุการ ตายของประชากรโลก ปัจจุบันพบว่าอัตราความชุกของ โรคเบาหวานความดันโลหิตสูง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี รวมถึงผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง ที่มารับบริการผู้ป่วยบอก เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี จากการจัดลำดับความ ทุก10 อันดับโรคของผู้รับบริการพบว่า ผู้ป่วยโรคความตันโลหิตสูง จัดอยู่ในอันดับที่ 1 และ พบจำนวนสูงสุดใน กลุ่มผู้ป่วยอายุ 60 ปี ขึ้นไป รองลงมาพบในกลุ่มอายุ 40-60 ปี และพบจำนวนน้อยในช่วงช่วงอายุ น้อยกว่า 40 ปี ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง พบโรคแทรกข้อนร้อยละ 55.77 และยังพบว่ามีผู้ป่วย เบาหวานความดัน โลหิตสูง ที่ต้องเข้านอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาล ด้วยโรคเบาหวานความตันโลหิตสูง และ ภาวะแทรกช้อนต่างๆ อีกบั่นจำนวนมาก ถึงแม้ว่าโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ส่วนใหญ่ไม่ทำให้สูญเสีย ชีวิตทันที แต่ทำให้ คุณภาพชีวิตลดลง เกิดความสูญเสียทั้งทางด้านสังคม และเศรษฐกิจ โดยเฉพาะเมื่อผู้ป่วยมี ภาวะแทรกช้อน ทำให้ เกิดข้อจำกัดด้านความสามารถหรือมีความพิการหรือเสียชีวิตก่อนเวลาอันควร ดังนั้นการ ควบคุมระดับน้ำตาลใน เลือดและระดับความดันโลหิต มีความสำคัญในการควบคมคมความรุนแรงของโรคและป้องกันการเกิดภาวะแทรกช้อน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองโดยกิจกรรม 3 อ 2 ส. จึงเป็นวิธีการที่สำคัญในการช่วยให้ผู้ป่วย โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงสามารถดูแลตนเองและควบคุมโรคได ปัจจจุบันโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลยโป ที่เปนป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็น จำนวนผู้ป่วยมากขึ้น พบว่า ประชากรในเขตรับผิดชอบ ทั้งหมด จำนวน 3,815 คน เป็นผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 149 คน คิดเป็นอัตราป่วย 390.56 ต่อแสนประชากร และผู้ป่วยความตันโลหิตสูง จำนวน 452 คน คิดเป็นอัตราป่วย 1,185 ต่อแสนประชากร จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็น ได้ ๆ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยุโป มีอัตราการ ป่วยที่สูง ซึ่งมาตรการในการดูแลรักษา ผู้ป่วยจำ เป็นต้องอาศัยความรู้ความสามารถของผู้ให้การรักษาและความ ร่วมมือของผู้ป่วยในการดูแลสุขภาพและ ป้องกันกาวะแทรกช้อน เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุข ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยุโป จึงได้ ดำเนินการจัดทำโครงการเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยความดัน เบาหวาน เพื่อมุ่งเน้นให้การดูแลสุขภาพ ตนเองได้ถูกต้องและไม่เกิดภาวะแทรกช้อนจนเป็นสาเหตุการ เสียชีวิต
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เพื่อผู้ป่วยโรคความดัน เบาหวาน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยหลัก 3 อ. 2 ส. |
||
2 | 2.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยเบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาล และความดันได้ดีขึ้น 1.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดัน สามารถควบคุมความดันได้อย่างน้อยร้อยละ 60 2.ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลสะสมในกระแสเลือดได้อย่างน้อยร้อยละ 40 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1.เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 2.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยเบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาล และความดันได้ดีขึ้น |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้
1.ผู้ป่วยโรคความดัน เบาหวาน มีความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว 2.ผู้ป่วยโรคความดัน เบาหวาน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ดีขึ้น 3.ผู้ป่วยโรคความดัน เบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาล และความดันได้ดีขึ้น 4.ผู้ป่วยโรคความดัน เบาหวาน รายใหม่ลดลง 5.ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการระบบดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 มี.ค. 2568 09:34 น.