เพิ่มการเข้าถึงการคัดกรองและผ่าตัดตาต้อกระจก และแก้ปัญหาความผิดปกติทางสายตา เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ เพิ่มการเข้าถึงการคัดกรองและผ่าตัดตาต้อกระจก และแก้ปัญหาความผิดปกติทางสายตา เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายประนุท อิสโร
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ เพิ่มการเข้าถึงการคัดกรองและผ่าตัดตาต้อกระจก และแก้ปัญหาความผิดปกติทางสายตา เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3333-01-02 เลขที่ข้อตกลง 01/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"เพิ่มการเข้าถึงการคัดกรองและผ่าตัดตาต้อกระจก และแก้ปัญหาความผิดปกติทางสายตา เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เพิ่มการเข้าถึงการคัดกรองและผ่าตัดตาต้อกระจก และแก้ปัญหาความผิดปกติทางสายตา เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " เพิ่มการเข้าถึงการคัดกรองและผ่าตัดตาต้อกระจก และแก้ปัญหาความผิดปกติทางสายตา เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3333-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีหน้าที่ในการสังคมสงเคราะห์ และพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรที่มีการลดลงของอัตราการเกิดและการตาย ทำให้ประชากรของผู้สูงอายุในประเทศไทยมีจำนวนสูงขึ้น ปัจจุบันมีจำนวนประชากรผู้สูงอายุประมาณร้อยละ 10.86 ของประกรทั้งประเทศ ทำให้เกิดผลกระทบต่อการใช้ทรัพยากรต่างๆ ทั้งในด้านสังคมและสุขภาพ ซึ่งเป็นสาเหตุให้ไม่สามารถทำกิจกรรมได้ และถือว่ามีปัญหาภาวะทุพลภาพระยะยาว ไม่ว่าจะเป็นทางด้าน ร่างกาย สภาพสายตา และอื่นๆ ในปัจจุบันนี้พบว่ามีผู้ที่มีปัญหาสายตาเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะผู้ที่ต้องนั่งทำงานหรือใช้สายตาอยู่กับหน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นระยะเวลานานๆ หรือเกือบตลอดทั้งวัน กรณีนี้ผู้ที่ประสบปัญหาอาจมีอาการพร่ามัว แสบตา เคืองตา ปวดเบ้าตา และจ้องที่หน้าจอคอมพิวเตอร์นานๆ อาจจะมีน้ำตาไหลออกมาบ้าง อาการเหล่านี้ล้วนแล้วแต่เป็นปัญหาทางสายตาที่ต้องได้รับการแก้ไข เช่นกัน ทั้งนี้ตามพระราชบัญญัติประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 ได้เน้นการสร้างเสริมสุขภาพการรักษา อีกทั้งสนับสนุนการสร้างแนวนโยบายให้ประชาชนเข้าถึงบริการอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกันรวมถึงให้ทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน องค์กร หน่วยงานต่างๆ ได้มีส่วนร่วมในการช่วยเสริมสร้างสุขภาพและได้ช่วยเหลือคนในเทศบาลตำบลเกาะนางคำ โดยเฉพาะผู้ที่มีปัญหาทางสายตา ไม่ว่าจะเป็นผู้ที่มีสายตาสั้น สายตายาว สายตาเอียง หรือตาต้อกระจก
ดังนั้นเพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาทางสายตาให้กับผู้ที่มีปัญหาทางสายตา เทศบาลตำบลเกาะนางคำและกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเกาะนางคำ ได้ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงได้จัดโครงการตรวจประเมินคัดกรอง ให้กับผู้สูงอายุที่มีปัญหาทางสายตาขึ้น เพื่อเอื้อต่อการให้บริการแก่ประชาชนในตำบลเกาะนางคำ โดยวิธีการคัดกรอง ค้นหา และเลือกสรรผู้ที่มีปัญหาทางสายตาตามความเหมาะสม เพื่อให้ได้รับบริการทางการแพทย์อย่างครอบคลุม และสามารถแก้ไขปัญหาทางสายตาได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการตรวจความผิดปกติทางสายตาในผู้ที่มีความผิดปกติทางสายตา
- เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการตรวจโรคทางสายตาในผู้ที่มีโรคทางสายตา
- เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการลอกตาต้อกระจกในผู้ที่มีความผิดปกติหรือโรคทางสายตาที่มีโรคทางสายตา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การตรวจคัดกรองความผิดปกติทางสายตาเบื้องต้น
- การเข้าตรวจยืนยันตาต้อกระจก โดยโรงพยาบาลปากพะยูน
- การเข้ารับการลอกตาต้อกระจก
- การพักฟื้นเพื่อสังเกตอาการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในพื้นที่ได้รับการตรวจคัดกรองความผิดปกติทางสายตา และโรคทางสายตา
- ผู้ที่มีความผิดปกติหรือโรคทางสายตาเข้าถึงการผ่าตัดตาต้อกระจกโดยทีมแพทย์ จากโรงพยาบาลปากพะยูน
- ผู้ที่มีความผิดปกติหรือโรคทางสายตาได้รับการแก้ปัญหาความผิดปกติทางสายตา
- ผู้ที่มีความผิดปกติหรือโรคทางสายตาที่เข้ารับการลอกตาต้อกระจก ได้รับการดูแลหลังเข้ารับบริการอย่างถูกวิธี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ประชาชนในพื้นที่ได้รับการตรวจคัดกรองความผิดปกติทางสายตา และโรคทางสายตา
- ผู้ที่มีความผิดปกติหรือโรคทางสายตาเข้าถึงการผ่าตัดตาต้อกระจกโดยทีมแพทย์ จากโรงพยาบาลปากพะยูน
- ผู้ที่มีความผิดปกติหรือโรคทางสายตาได้รับการแก้ปัญหาความผิดปกติทางสายตา
- ผู้ที่มีความผิดปกติหรือโรคทางสายตาที่เข้ารับการลอกตาต้อกระจก ได้รับการดูแลหลังเข้ารับบริการอย่างถูกวิธี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการตรวจความผิดปกติทางสายตาในผู้ที่มีความผิดปกติทางสายตา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้ที่มีความผิดปกติทางสายตาที่เข้ารับการคัดกรองความผิดปกติทางสายตา
0.00
2
เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการตรวจโรคทางสายตาในผู้ที่มีโรคทางสายตา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้ที่มีโรคทางสายตาที่ได้รับการคัดกรองโรคตาต้อกระจก
0.00
3
เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการลอกตาต้อกระจกในผู้ที่มีความผิดปกติหรือโรคทางสายตาที่มีโรคทางสายตา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้ที่มีความผิดปกติหรือโรคทางสายตาได้รับการลอกตาต้อกระจก
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
110
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการตรวจความผิดปกติทางสายตาในผู้ที่มีความผิดปกติทางสายตา (2) เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการตรวจโรคทางสายตาในผู้ที่มีโรคทางสายตา (3) เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการลอกตาต้อกระจกในผู้ที่มีความผิดปกติหรือโรคทางสายตาที่มีโรคทางสายตา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การตรวจคัดกรองความผิดปกติทางสายตาเบื้องต้น (2) การเข้าตรวจยืนยันตาต้อกระจก โดยโรงพยาบาลปากพะยูน (3) การเข้ารับการลอกตาต้อกระจก (4) การพักฟื้นเพื่อสังเกตอาการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
เพิ่มการเข้าถึงการคัดกรองและผ่าตัดตาต้อกระจก และแก้ปัญหาความผิดปกติทางสายตา เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3333-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายประนุท อิสโร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ เพิ่มการเข้าถึงการคัดกรองและผ่าตัดตาต้อกระจก และแก้ปัญหาความผิดปกติทางสายตา เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายประนุท อิสโร
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3333-01-02 เลขที่ข้อตกลง 01/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"เพิ่มการเข้าถึงการคัดกรองและผ่าตัดตาต้อกระจก และแก้ปัญหาความผิดปกติทางสายตา เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เพิ่มการเข้าถึงการคัดกรองและผ่าตัดตาต้อกระจก และแก้ปัญหาความผิดปกติทางสายตา เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " เพิ่มการเข้าถึงการคัดกรองและผ่าตัดตาต้อกระจก และแก้ปัญหาความผิดปกติทางสายตา เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3333-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีหน้าที่ในการสังคมสงเคราะห์ และพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรที่มีการลดลงของอัตราการเกิดและการตาย ทำให้ประชากรของผู้สูงอายุในประเทศไทยมีจำนวนสูงขึ้น ปัจจุบันมีจำนวนประชากรผู้สูงอายุประมาณร้อยละ 10.86 ของประกรทั้งประเทศ ทำให้เกิดผลกระทบต่อการใช้ทรัพยากรต่างๆ ทั้งในด้านสังคมและสุขภาพ ซึ่งเป็นสาเหตุให้ไม่สามารถทำกิจกรรมได้ และถือว่ามีปัญหาภาวะทุพลภาพระยะยาว ไม่ว่าจะเป็นทางด้าน ร่างกาย สภาพสายตา และอื่นๆ ในปัจจุบันนี้พบว่ามีผู้ที่มีปัญหาสายตาเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะผู้ที่ต้องนั่งทำงานหรือใช้สายตาอยู่กับหน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นระยะเวลานานๆ หรือเกือบตลอดทั้งวัน กรณีนี้ผู้ที่ประสบปัญหาอาจมีอาการพร่ามัว แสบตา เคืองตา ปวดเบ้าตา และจ้องที่หน้าจอคอมพิวเตอร์นานๆ อาจจะมีน้ำตาไหลออกมาบ้าง อาการเหล่านี้ล้วนแล้วแต่เป็นปัญหาทางสายตาที่ต้องได้รับการแก้ไข เช่นกัน ทั้งนี้ตามพระราชบัญญัติประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 ได้เน้นการสร้างเสริมสุขภาพการรักษา อีกทั้งสนับสนุนการสร้างแนวนโยบายให้ประชาชนเข้าถึงบริการอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกันรวมถึงให้ทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน องค์กร หน่วยงานต่างๆ ได้มีส่วนร่วมในการช่วยเสริมสร้างสุขภาพและได้ช่วยเหลือคนในเทศบาลตำบลเกาะนางคำ โดยเฉพาะผู้ที่มีปัญหาทางสายตา ไม่ว่าจะเป็นผู้ที่มีสายตาสั้น สายตายาว สายตาเอียง หรือตาต้อกระจก
ดังนั้นเพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาทางสายตาให้กับผู้ที่มีปัญหาทางสายตา เทศบาลตำบลเกาะนางคำและกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเกาะนางคำ ได้ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงได้จัดโครงการตรวจประเมินคัดกรอง ให้กับผู้สูงอายุที่มีปัญหาทางสายตาขึ้น เพื่อเอื้อต่อการให้บริการแก่ประชาชนในตำบลเกาะนางคำ โดยวิธีการคัดกรอง ค้นหา และเลือกสรรผู้ที่มีปัญหาทางสายตาตามความเหมาะสม เพื่อให้ได้รับบริการทางการแพทย์อย่างครอบคลุม และสามารถแก้ไขปัญหาทางสายตาได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการตรวจความผิดปกติทางสายตาในผู้ที่มีความผิดปกติทางสายตา
- เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการตรวจโรคทางสายตาในผู้ที่มีโรคทางสายตา
- เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการลอกตาต้อกระจกในผู้ที่มีความผิดปกติหรือโรคทางสายตาที่มีโรคทางสายตา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การตรวจคัดกรองความผิดปกติทางสายตาเบื้องต้น
- การเข้าตรวจยืนยันตาต้อกระจก โดยโรงพยาบาลปากพะยูน
- การเข้ารับการลอกตาต้อกระจก
- การพักฟื้นเพื่อสังเกตอาการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในพื้นที่ได้รับการตรวจคัดกรองความผิดปกติทางสายตา และโรคทางสายตา
- ผู้ที่มีความผิดปกติหรือโรคทางสายตาเข้าถึงการผ่าตัดตาต้อกระจกโดยทีมแพทย์ จากโรงพยาบาลปากพะยูน
- ผู้ที่มีความผิดปกติหรือโรคทางสายตาได้รับการแก้ปัญหาความผิดปกติทางสายตา
- ผู้ที่มีความผิดปกติหรือโรคทางสายตาที่เข้ารับการลอกตาต้อกระจก ได้รับการดูแลหลังเข้ารับบริการอย่างถูกวิธี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ประชาชนในพื้นที่ได้รับการตรวจคัดกรองความผิดปกติทางสายตา และโรคทางสายตา
- ผู้ที่มีความผิดปกติหรือโรคทางสายตาเข้าถึงการผ่าตัดตาต้อกระจกโดยทีมแพทย์ จากโรงพยาบาลปากพะยูน
- ผู้ที่มีความผิดปกติหรือโรคทางสายตาได้รับการแก้ปัญหาความผิดปกติทางสายตา
- ผู้ที่มีความผิดปกติหรือโรคทางสายตาที่เข้ารับการลอกตาต้อกระจก ได้รับการดูแลหลังเข้ารับบริการอย่างถูกวิธี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการตรวจความผิดปกติทางสายตาในผู้ที่มีความผิดปกติทางสายตา ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้ที่มีความผิดปกติทางสายตาที่เข้ารับการคัดกรองความผิดปกติทางสายตา |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการตรวจโรคทางสายตาในผู้ที่มีโรคทางสายตา ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้ที่มีโรคทางสายตาที่ได้รับการคัดกรองโรคตาต้อกระจก |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการลอกตาต้อกระจกในผู้ที่มีความผิดปกติหรือโรคทางสายตาที่มีโรคทางสายตา ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้ที่มีความผิดปกติหรือโรคทางสายตาได้รับการลอกตาต้อกระจก |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 110 | 100 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 0 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการตรวจความผิดปกติทางสายตาในผู้ที่มีความผิดปกติทางสายตา (2) เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการตรวจโรคทางสายตาในผู้ที่มีโรคทางสายตา (3) เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการลอกตาต้อกระจกในผู้ที่มีความผิดปกติหรือโรคทางสายตาที่มีโรคทางสายตา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การตรวจคัดกรองความผิดปกติทางสายตาเบื้องต้น (2) การเข้าตรวจยืนยันตาต้อกระจก โดยโรงพยาบาลปากพะยูน (3) การเข้ารับการลอกตาต้อกระจก (4) การพักฟื้นเพื่อสังเกตอาการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
เพิ่มการเข้าถึงการคัดกรองและผ่าตัดตาต้อกระจก และแก้ปัญหาความผิดปกติทางสายตา เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3333-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายประนุท อิสโร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......