โครงการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคระบบไหลเวียนและผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง
ชื่อโครงการ | โครงการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคระบบไหลเวียนและผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง |
รหัสโครงการ | 68-L4139-02-08 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน |
วันที่อนุมัติ | 21 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 49,500.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวพนิดา พัดคง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.597,101.283place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน (ischemic stroke) เป็นสาเหตุส่วนใหญ่ที่ทำให้เกิดโรคหลอดเลือด สมอง พบได้ประมาณ 80% หลอดเลือดสมองอุดตันเกิดได้จากลิ่มเลือดที่เกิดขึ้นในบริเวณอื่นไหลไปตามกระแส เลือดจนไปอุดตันที่หลอดเลือดสมอง หรืออาจเกิดจากมีลิมเลือดก่อตัวในหลอดเลือดสมอง และขยายขนาดใหญ่ขึ้น จนอดตันหลอดเลือดสมอง ส่วนสาเหตุของหลอดเลือดสมองสืบอาจเกิดจากการสะสมของไขมันในหลอดเลือด ทำ ให้หลอดเลือดตีบแคบ มีความยืดหยุ่นและมีประสิทธิภาพในการลำเสียงเลือดลดลดลง ส่วนหลอดเลือดสมองแตก morrhagic stroke) พบไดประมาณ 20% ของโรคหลอดเลือดสมอง เกิดจากหลอดเลือดมีความเปราะ ร่วมกับภาว่ะความดันโลหิตสูง ทำให้บริเวณที่เปราะบางนั้นโป่งพองและแตกออก หรืออาจเกิดจากหลอดเลือดเสีย ความยึดหยุ่นจากการสะสมของไขมันในหลอดเลือด ทำให้หลอดเลือดปริแตกได้ง่าย ซึ่งอันตรายมากเนื่องจากทำให้ บริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงสมองลดลงอย่างฉับพลันและทำให้เกิดเลือดออกในสมอง ส่งผลให้ผู้ป่วยเสียชีวิตในเวลา ลับรวดเร็วได้ การป้องกันเป็นการรักษาโรคหลอดเลือดสมองที่ดีที่สุด และควรป้องกันก่อนการเกิดโรคหลอดเลือด มอง คือ ต้องควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่ส่งเสริมให้หลอดเลือดเกิดการตีบ อุดตัน หรือแตก เช่น ความ โรคหัวใจ โรคเบาหวาน เขมันในเลือดสูง การสูบบุหรี่ หรือขาดการอกกำลังกาย ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง หลังจากที่ได้รับการรักษาด้วยยาและหัตถการต่างๆ จากแพทย์จนอาการของ ไรคคงที่ ซึ่งระยะเวลาก็ขึ้นกับพยาธิสภาพและรอยโรคของผู้ป่วย ทั้งนี้ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะยังคงมีภาวะสูญเสียการ วบคุมแขนขาซีกใดชีกหนึ่งของร่างกาย การพูด การกลืน แม้กระทั้งมีอารมณ์แปรปรวน บางรายสูญเสี และอาจมีกระบวนการคิดที่ผิดแปลกไป อาการเหล่านี้หลงเหลือมาจากการบาดเจ็บของสมอง โดยอาการ สดงจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการบาดเจ็บเสียหายของสมองผู้ป่วย ซึ่งปัญหาเหล่านี้มีความ เป็นอย่างยิ่งต้องได้รับการทำกายภาพบำบัด ฟื้นฟู รักษาแต่เนิ่นๆ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ารได้รับการทำกายภาพบำบัดได้รวดเร็วจะส่งผลให้ผู้ป่วยเหลือความพิการลดน้อยลง บางรายสามารถกลับมาใช้ ชีวิต ทำกิจวัตรประจำวันด้วยตัวเองได้ใกล้เคียงปกติ ความสำเร็จของการทำกายภาพบำพบำบัดในช่วงแรกขึ้นอยู่กับ วามเสียหายจากการบาดเจ็บ จิตใจของผู้ป่วย การให้ความร่วมมือ ความเข้าใจของผู้ดูแล และการได้รับการรักษา อย่างสม่ำเสมอ ปัจจัยต่างๆ ส่งผลให้การฟื้นตัวในแต่ละคนไม่เท่ากัน ไมตำบลยุโป ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง มี นานมาก มีทั้งติดบ้าน และติดเตียง ในปี 2567 ผู้ป่วยอยู่ในโครงการ LTC ซึ่งมี CG ดูแล จำนวน 19 ราย งรายมีอาการหนักต้องทำกายภาพ และหัตการ ทางด้านการแพทย์แผนไทยควบคู่ไปด้วย และมีอีกสี่สิบกว่าราย ได้เข้าระบบ LTC ซึ่งจะน้องได้รับการดูแล เพื่อที่จะไม่ให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้กลายเป็นผู้ป่วยติดเตียงในอนาคต จากสภาพปัญหาดังกล่าวทางอาสาสมัครสาธารณสุประจำหมู่บ้าน ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริม ขภาพตำบลยุโป ได้เห็นความสำคัญของปัญหาของผู้ป่วยที่มีความพิการหรือผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง จึงจัดทำ รงการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคระบบไหลเวียนและผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ซึ่งจะมีการบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ เพื่อให้ ผู้ป่วยกลุ่มที่มีอาการทางด้านร่างกาย ข้าถึงบริการและได้รับการดูแลต่อเนื่องจนสามารถช่วยเหลือตนเองได้ใน ระดับหนึ่ง หรือในบางรายอาจะสามารถกลับมาดำเนินชีวิตประกอบอาชีพโดยตนเองได้ตามศักยภาพ ในที่สุด
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีอาการด้านการเคลื่อนไหวและผู้ที่มีอาการชาตามอวัยวะต่างๆได้รับการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพตามเวชศาสตร์ฟื้นฟู ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีอาการด้านการเคลื่อนไหวและผู้ที่มีอาการชาตามอวัยวะต่างๆได้รับการฟื้นฟูสภาพมีระดับพัฒนาการทางด้านร่างกายที่ดีขึ้น จากการตรวจสอบ OPD การ์ด |
||
2 | 2.เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีอาการด้านการเคลื่อนไหวสามารถทำกิจวัตประจำวันด้วยตนเองได้ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีอาการด้านการเคลื่อนไหวได้รับการฟื้นฟูสภาพทำกิจวัตประจำวันได้ |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.ผู้ป่วยหลอดเลือดสมองที่มีอาการทางด้านร่างกายได้รับการการฟื้นฟูสภาพจนสามารถทำกิจวัตประจำวันได้ 2.ผู้ดูแลและผู้ป่วยได้รับการพัฒนาทักษะเรื่องการดูแลที่ถูกต้อง 3.ผู้ป่วยและผู้ดูแลมีสุขภาพจิตดีขึ้น 4.ผู้ที่มีอาการชาตามอวัยวะต่างๆ ได้รับการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพ 5.การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการระบบดูแลสุขภาพ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 มี.ค. 2568 09:55 น.